ครูธรรม 8 และพระพุทธศาสนา ครุธรรม 8เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติหรือไม่ (2) หน้า 67
หน้าที่ 67 / 83

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจการบัญญัติของครูธรรม 8 โดยพระพุทธเจ้า และวิพากษ์ความหมายของความไม่สมอภาคในคณะสงฆ์ โดยนำเสนอแนวคิดต่างๆ เกี่ยวกับสิทธิสตรีในบริบทสังคมปัจจุบัน เช่นการเรียกร้องสิทธิที่เหมาะสมกับเพศหญิง และการเปรียบเทียบกับเพศชาย เพื่อให้เข้าใจและปรับสมดุลในสังคม การอภิปรายในเรื่องนี้ยังกล่าวถึงการประยุกต์ใช้ครูธรรม 8 ในปัจจุบันในประเทศต่างๆ รวมถึงการบิณฑบาตในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และความเห็นที่แตกต่างในสังคมตะวันตก

หัวข้อประเด็น

- ประวัติของครูธรรม 8
- ความหมายของความสมอภาค
- การเปรียบเทียบสิทธิสตรี
- บริบททางสังคมของการบวช
- ประยุกต์ใช้ครูธรรมในปัจจุบัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ครูธรรม 8 เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้ามอบบัญญัติหรือไม่ (2) 171 พุทธกาล และเป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าบัญญัติจริง เมื่อย้อนกลับมาประเด็นที่ว่าครูธรรมานำซึ่งความไม่สมอภาคแก่คณะสงฆ์ใน พระพุทธศาสนาหรือไม่ ก็จำ่ต้องย้อนกลับไปตีความเรื่องความไม่สมอภาคและ สาเหตุ คำว่า สมอภาค ไม่ได้หมายถึงเท่ากัน เฉพาะการเรียกร้องของสิทธิสตรีหลาย กลุ่มที่มีหลายแนวคิด ในสมัยแรก ฯ นักสิทธิสตรีเรียกร้องเพื่อความเท่าเทียมกับชาย สมยุคต่อมามีเสถียรภาพ แต่ดูคลังสิทธิสตรีนิยมภลับเรียกร้องสิ่งที่เหมาะกับผู้หญิง เช่น ใน เมื่อหญิงสามารถอิ่มด้วยข้าวเพียง 1 จาน หญิงไม่จำเป็นต้องเรียกร้องกินข้าว 2 จาน เหมือนชาย หญิงใช้เวลานานในห้องน้ำมากกว่าชาย จำนวนห้องน้ำหญิงไม่ควรมากกว่าชาย แต่ควรมากกว่าชาย เป็นตัน สำรองมองของนักสิทธิสตรีนิยม ในยุคแรก อาจมองได้ว่า ครูธรรมานำซึ่งความไม่สมอภาค เพราะทุกอย่างต้องทำมากกว่ากว่าสิ่งซึ่งเป็นเพศชาย ถึง 2 เท่า แต่สำรองมองของนักสิทธิสตรีนิยมหรือผู้เรียกร้องสิทธิสตรีบางกลุ่ม อาจมอง ว่าเป็นการปรับให้เหมาะกับเพศภาวะนักบวชชหญิง อย่างไรก็ตาม การเอาถุงฐิติทาง สังคมที่มีความหลากหลายและเปลี่ยนแปลงไปเป็นตัวตั้งสำคัญของพระพุทธ ศาสนา ผู้เขียนเห็นว่าไม่ถูกต้อง เป็นสิ่งที่ไม่ควรที่จะนำมาเปรียบ มาทแลย มาชีวัต เพราะ ถือได้ว่าอยู่คณะบริบท แต่หากเอาถุงฐิติของสังคมนักบวชด้วยกันมาชีวัด มาประย มาเทียบ น่าจะสมเหตุสมผลมากกว่า ในกรณีของครูธรรม 8 ปัจจุบันสามารถทำได้หรือไม่ คำถามนี้อาจจะขึ้นอยู่ กับพื้นที่บางประเทศมหา คณะสงฆ์อาจเข่าจำใยก็สามารถทำได้ ยกตัวอย่าง เช่น การ บิณฑบาตในเอเชียตะวันออกเฉียงใต๋ทำได้ แต่ในประเทศจีนหรือประเทศตะวัน- ตกไม่เป็นที่นิยมและเป็นเรื่องปกติของประเทศเหล่านั้น นอกจากนี่ยังขึ้นอยู่กับผู้ปฏิบัติ หากผู้ปฏิบัติระลึกถึงครูธรรม 8 เป็นเหมือนดังเพงระหว่างความเป็นครูศัลและ บรรพชิต และได้พิจารณาตนเองด้วยการน้อมรับครูธรรม ซึ่งก็เป็นเหมือนการก้าวข้าม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More