ข้อความต้นฉบับในหน้า
หนึ่ง คือ แม้ว่าเราจะเทศน์เก่ง เทศน์ดีขนาดไหนก็ตาม พอช่วงนอก
รอบหลังจากเทศน์จบแล้ว เราก็ถาม เมื่อสักครู่ฟังเทศน์หรือเปล่า?
ฟัง พระท่านเทศน์เป็นอย่างไร ดีไหม? ดี ท่านเทศน์ดีเหลือเกิน ถ้า
อย่างนั้นช่วยเล่าให้ฟังบ้างสิว่าท่านเทศน์ว่าอย่างไร? หน้าหงิกเลย ตอบ
ไม่ได้ บอกได้แต่ว่าพระท่านเทศน์ดี แต่ไม่รู้ว่าจะเล่าว่าอย่างไร ถ้าเรา
ถามว่าไม่รู้ได้อย่างไร ก็เพิ่งลุกจากฟังเทศน์มาเดี๋ยวนี้ หน้าก็ยิ่งหงิกเข้า
ไปใหญ่ เพราะฉะนั้นยังกลับไม่ทันถึงบ้านเลย ลืมเรื่องที่เทศน์หมดแล้ว
หลวงพ่อ หลวงพี่ ที่ว่าเทศน์ดีๆแล้ว ถ้าลองไปถามดูว่า
เมื่อเจ็ดวันที่แล้วฟังเทศน์เรื่องอะไร รับรองตอบไม่ได้ เพราะฉะนั้น
ความจําของคนนี้ไม่แน่นอน แต่พระเดชพระคุณหลวงพ่อวัดปากน้ำ
มีวิธีหนึ่ง ท่านบอกว่าไม่ว่าไปทำอะไรมาก็ตาม ก่อนจะกลับบ้าน ท่าน
จับให้นั่งสมาธิสัก ๑๐-๑๕ นาที แล้วก็ให้สัมม
สัมมา อะระหัง ผ่านไปอีก
เจ็ดวัน เราลองไปถามว่า หลวงพ่อท่านเทศน์อะไร เขาจะจำเนื้อหา
ส่วนใหญ่ไม่ได้ว่าเทศน์อะไร จำได้แต่ว่าหลวงพ่อ
ให้ สัมมา อะระหัง
ก่อนจะไปทำ
เพราะฉะนั้น ไม่ว่าจะเป็นพระลูกวัด อะไร จับมา
สามเณร เด็กวัด อุบาสก-อุบาสิกา ก่อนจะไปทำ นั่งสมาธิ
อะไร จับมานั่งสมาธิก่อน แล้วค่อยปล่อยไป ทำ ก่อน
เสร็จแล้วเรียกมารวมกัน จับนั่งสมาธิอีกเที่ยว แล้ว
ค่อยปล่อยไปทำอย่างอื่น ถ้าทำอย่างนี้ คนของเราจะมีคุณภาพเอง
แล้วข้อนี้เองที่ทำให้เราสร้างวัดพระธรรมกายมาได้ทุกวันนี้
คอ
ทันทีที่รับคนเข้ามา เราก็ให้การอบรมก่อน ตอนเช้ามืดก็ให้นั่งสมาธิพัก
หนึ่ง ตอนสายหลังจากฉันข้าวแล้วเราก็ให้นั่งสมาธิอีกพักหนึ่ง ส่วนตอน
บ่ายจะเทศน์สอนอะไรก็ทำกันไป ก็ทำกันมาอย่างนี้ ผลที่ออกมาก็คือ
แม้ว่าบวชยังไม่ได้ถึงเดือน แต่ก็มาทํางานเป็นกำลังสำคัญให้วัดได้แล้ว
การพัฒนาบุคคลในวัด
๕๙