มงคลสูตรและมุ่งหมายทางพุทธจริยธรรม ปฏิรูปเทส ๔ สูตรสำเร็จการบริหารวัด หน้า 78
หน้าที่ 78 / 96

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาแบ่งเป็นสามส่วน: มงคลสูตรฉบับบาลี, คำแปลของมงคลสูตร, และหัวข้อใหม่ที่เป็นข้อที่ควรศึกษา โดยมีการอภิปรายถึงความสำคัญและหลักธรรมสำหรับการดำเนินชีวิตที่เป็นสิริมงคล เพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการและข้อขัดแย้งในเรื่องมงคลสูงสุด และเหมาะกับการปฏิบัติในชีวิตประจำวัน นอกจากนี้ยังเน้นการแสดงหลักธรรมที่จะนำไปสู่ความเข้าใจที่ถูกต้องโดยไม่หลงเชื่ออย่างงมงาย.

หัวข้อประเด็น

-มงคลสูตร
-ธรรมะและจริยธรรม
-ระดับชั้นของธรรมะ
-การดำเนินชีวิตอย่างรอบรู้

ข้อความต้นฉบับในหน้า

៧៦ ส่วนแรกเป็นมงคลสูตรฉบับบาลีที่เราใช้สวดกันทั่วไป ส่วนที่สองเป็น คําแปลของมงคลสูตร และส่วนที่สาม เป็นหัวข้อใหม่ที่เขาตั้งขึ้นมา เพื่อกำหนดธรรมะที่ ให้ชื่อว่าข้อที่ควรศึกษา ยกตัวอย่างของข้อที่ควรศึกษาใน เป็นสิริมงคลตั้งแต่ มงคลสูตร เขาบอกว่า ภาษาชาวบ้านเรียก ระดับชั้นต้นจนสูง ชื่อบทสวดมงคลสูตรนี้ ชื่อว่าพหูเทวาฯ ขึ้นสูงขึ้นจนถึงที่สุด บ้าง หรือ เสวนาฯ บ้าง ผู้ประพันธ์เป็น คือ นิพพาน พระพุทธพจน์ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก พระสุตตันตปิฎก ขุททกปาฐะ ขุททกนิกาย หัวข้อต่อมาพูดถึงความมุ่งหมายทางพุทธจริยธรรม ๑. เพื่อสนองความประสงค์และตัดสินข้อขัดแย้งเรื่องมงคล อันสูงสุดของเทวดาและมนุษย์ ๒. เพื่อกําหนดหลักธรรมสำหรับประพฤติปฏิบัติให้เกิดความ เป็นสิริมงคลอย่างไม่งมงาย หลงเชื่ออย่างอื่น ๓. เพื่อกำหนดธรรมะที่เป็นสิริมงคลตั้งแต่ระดับชั้นต้นจนสูง ขึ้นสูงขึ้นจนถึงที่สุด คือ นิพพาน คุณบุญเรืองตั้งหัวข้อเท่านี้ยังไม่พอ ยังตั้งหัวข้อความรู้ทาง จริยธรรมไว้อีกว่า ๑. แสดงหลักธรรมสำหรับปฏิบัติในการดำเนินชีวิตทั้งในส่วน ปัจเจกชนและมหาชน ๒. แสดงธรรมะและปฏิบัติเพื่อผลที่แน่นอนและเฉียบขาด ๓. บทพระพุทธมนต์นี้ ถือเป็นสิ่งมิ่งมงคล เมื่อพระหัวหน้า ขึ้นต้นว่า อเสวนาฯ ให้เจ้าภาพจุดเทียนน้ำมนต์ที่ปากบาตรน้ำมนต์ แล้วยกขึ้นประเคนพระหัวหน้า พิธีกรรมเช่นนี้เหมาะสมกับบุคคลที่ ยังไม่เข้าใจหลักธรรมลึกซึ้ง ต้องอาศัยพิธีกรรม หรือเหมาะสมกับ ธรรมะเป็นที่สบาย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More