คาคาธรรมบท MIAO-2 คาถาธรรมบท ภาค ๑-๔ หน้า 43
หน้าที่ 43 / 80

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงคำสอนทางปรัชญาที่เน้นให้มุ่งสร้างสรรค์ความดีในชีวิต โดยให้พิจารณาตนเองและไม่เปรียบเทียบกับคนอื่น พร้อมทั้งมีการเปรียบเทียบวาจาที่ดีเหมือนดอกไม้ที่มีกลิ่นหอมที่จะเกิดผลต่อผู้ทำดี ข้อความยังกล่าวถึงการให้ทานและผลของการทำดีในบริบทของชีวิตประจำวัน

หัวข้อประเด็น

-หลักธรรมของการทำดี
-การพูดและความสำคัญของวาจา
-การให้ทานและผลที่ตามมา
-การยึดถือจริยธรรมในชีวิตประจำวัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คาคาธรรมบท MIAO-2 (๔๓) บุคคลไม่ควรทําคําแสยงขนของคนเหล่าอื่นไว้ในใจ, ไม่ควรแลดูกิจที่ทำแล้วและยังมิได้ทำของคนเหล่าอื่น, พึงพิจารณากิจที่ทำแล้วและยังมิได้ทำของตนเท่านั้น ๗. เรื่องฉัตตปาณิอุบาสก [๓๔] ยถาปิ รุจิร์ ปุปุนํ วณฺณวนฺนํ อคนฺธวํ เอวํ สุภาสิตา วาจา อผลา โหติ อกุพฺพโต. ยถาปิ รุจิรํ ปุปุนํ เอว์ สุภาสิตา วาจา วณฺณวนต์ สคนธก๋ สผลา โหติ สุกุพฺพโต. ดอกไม้งามมีสี (แต่) ไม่มีกลิ่น (หอม) แม้ฉันใด, วาจาสุภาษิตก็ฉันนั้น ย่อมไม่มีผลแก่ผู้ไม่ทําอยู่ (ส่วน) ดอกไม้งาม มีสีพร้อมด้วยกลิ่น (หอม) แม้ฉันใด, วาจาสุภาษิต ก็ฉันนั้นย่อมมีผลแก่ผู้ทำดีอยู่ ๔. เรื่องนางวิสาขา (๔๐) ยตฺถ ทินฺนํ มหปุผล์, โสห์ อชฺช ปชานามิ อตฺถาย วต เม ภทฺทา สุณิสา ฆรมาคตาติ. ข้าพระองค์นั้น ย่อมรู้ทั่วถึงทานที่บุคคลให้แล้ว ในเขตที่บุคคลให้ แล้วมีผลมากในวันนี้, หญิงสะใภ้คนดีของข้าพระองค์มาสู่เรือน เพื่อ ประโยชน์แก่ข้าพระองค์หนอ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More