คาถาธรรมบท ภาค ๑-๘ คาถาธรรมบท ภาค ๑-๔ หน้า 46
หน้าที่ 46 / 80

สรุปเนื้อหา

คาถาธรรมบทกล่าวถึงความสำคัญของการบิณฑบาตในชีวิตของภิกษุ ที่มีการถือปฏิบัติและข้อปฏิบัติ เรื่องราวเกี่ยวกับกลิ่นที่เกิดจากผู้มีศีลและปรินิพานของพระโคธิกเถระก็ได้รับการกล่าวถึง โดยชี้ให้เห็นถึงความมั่นคงและความพอใจทั้งในหมู่เทวดาและมนุษย์ ซึ่งเป็นการแสดงให้เห็นว่า การปฏิบัติดีมีคุณค่ามากเพียงใดในทางธรรม.

หัวข้อประเด็น

-คาถาธรรมบท
-การบิณฑบาต
-ความสำคัญของศีล
-ปรินิพพานของพระโคธิกเถระ
-การประพฤติปฏิบัติของภิกษุ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คาถาธรรมบท ภาค ๑-๘ (๔๖) ปิณฺฑปาติกสฺส ภิกฺขุโน อตฺตภรสฺส อนุญฺญโปสิโน เทวา ปิหยนฺติ ตาทิโน อุปสนฺตสฺส สทา สตีมโตติ เทวดาและมนุษย์ ย่อมพอใจ แก่ภิกษุผู้ถือการเที่ยวบิณฑบาต เป็นวัตร ผู้เลี้ยงตัวเอง มิใช่เลี้ยงผู้อื่น ผู้มั่นคง ผู้เข้าไปสงบแล้ว มีสติทุกเมื่อ. อปปมตโต อย่ คนโธ ยุวา' ตครจนทนี โย จ สีลวต์ คนฺโธ วาติ เทเวสุ อุตฺตโม. กลิ่นนี้ คือ กลิ่นกฤษณา และกลิ่นจันทน์เป็นกลิ่นเพียงเล็กน้อย, ส่วน กลิ่นของผู้มีศีลทั้งหลาย เป็นกลิ่นชั้นสูง ย่อมหอมฟุ้งไป ในเทพเจ้า และเหล่ามนุษย์. ๑๑. เรื่องปรินิพพานของพระโคธิกเถระ ๔๓] มหาวีร มหาปุญฺญ สพฺพเวรภยาตีต สาวโก เต มหาวีร อากงฺขติ เจตยติ, กถ์ หิ ภควา ตุยฺห์ อปปตตมานโส เสโน อิทฺธิยา ยสสา ชล ปาเท วนฺทามิ จกฺขุม มรณ์ มรณาภิภู ต์ นิเสธ ชุตินฺธร. สาวโก สาสเน รโต กานํ กยิรา ชเนสุตาติ ข้าแต่พระมหาวีระ ผู้มีบุญมาก รุ่งเรืองด้วยฤทธิ์ ด้วยยศ ล่วงเสีย ได้ซึ่งเวรและภัยทั้งปวง ผู้มีจักษุ ข้าพระองค์ขอถวายบังคมพระบาท ทั้งสอง, ข้าแต่พระมหาวีระ สาวกของพระองค์ อันความตายครอบงำ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More