เรื่องสัทธิวิหาริกของพระมหากัสสปเถระ คาถาธรรมบท ภาค ๑-๔ หน้า 52
หน้าที่ 52 / 80

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการเปรียบเทียบระหว่างวานรและมนุษย์ รวมถึงปัญญาและความมั่นคงทางจิตของบุคคล เทียบเคียงสภาพภายในกับความเหมาะสมของการมีสุขภาพ โดยแสดงให้เห็นถึงหลักคิดที่ว่า สุขภาพที่ดีต้องอาศัยจิตที่มั่นคง และแนวทางการป้องกันจากความไม่แน่นอนในชีวิต กำหนดความสำคัญของการมีวิถีชีวิตที่ตรงตามหลัก.

หัวข้อประเด็น

-ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และวานร
-ปัญญาและความรู้
-สุขภาพและจิตใจ
-คำสอนของพระมหากัสสปเถระ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ศาลาธรรมบท ภาค ๑-๘ (๕๒) ๒. เรื่องสัทธิวิหาริกของพระมหากัสสปเถระ [๔๖] มนุสฺสสเสว เต สีส์ อถ เกน น วณเณน หตุถปาทา จ วานร อคารนฺเต น วิชฺชตีติ วานร ศีรษะและมือเท้าของท่านก็มีเหมือนของมนุษย์, เมื่อเช่นนั้น เพราะโทษอะไรหนอ? เรือนของท่านจึงไม่มี มนุสฺสสเสว เม สีส หตุถปาทา จ สิงฺคิล, ยาหุ เสฎฐา มนุสฺเสส, สา เม ปญฺญา น วิชชาติ นกขมิ้น ศีรษะและมือเท้าของเรา ย่อมมีเหมือนของมนุษย์, บัณฑิตทั้งหลายกล่าวว่า ปัญญาใด ประเสริฐในมนุษย์ทั้งหลาย, ปัญญานั้น ย่อม ไม่มีแม้แก่เรา อนวฏฺฐิตจิตฺตสฺส นิจฺจํ อทธวสีลสส โส กรสสานุภาว์ ตฺวํ สีตวาตปริตฺตานํ ลหุจิตฺตสฺส ทุพภิโน สุขภาโว น วิชฺชติ. วีติวตฺตสฺส สีลิย์, กรสุสุ กุฏิก๋ กปีติ. สุขภาพ ย่อมไม่มีแก่บุคคลผู้มีจิตไม่มั่นคง มีจิตเบา (กลับกลอก) มักประทุษร้ายมิตร มีปกติ ไม่ยั่งยืนเป็นนิตย์, ท่านนั้นจงกระทำ อานุภาพเถิด จงเป็นไปล่วงความเป็นปกติ (ของตน) เสีย, จงกระทำ กระท่อมเป็นที่ป้องกันหนาวและลมเถิด กบี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More