แรงบันดาลใจจากพระไตรปิฎก แรงบันดาลใจจากพระไตรปิฎก หน้า 222
หน้าที่ 222 / 264

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้เสนอสาระจากพระไตรปิฎกที่เกี่ยวกับการทำจิตให้สมอแผ่นดิน เปรียบเทียบกับราหุลและอาการของจิตใจ ซึ่งกล่าวถึงวิธีการป้องกันไม่ให้ใจหวั่นไหวจากความรักหรือความชัง ผ่านการฝึกมิสติและสมาธิเพื่อให้การรับรู้ไม่ถูกยึดมั่นหรือครอบงำ จึงนำไปสู่การปฏิบัติธรรมที่ดีและจิตใจที่มั่นคงอย่างแท้จริง ที่มาของความรู้ในบทนี้มาจากพระไตรปิฎก สำหรับผู้ที่ต้องการพัฒนาจิตใจและการปฏิบัติธรรมให้ดียิ่งขึ้น สามารถเข้ามาศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การทำจิตให้มั่นคง
-อารมณ์และการรับรู้
-การปฏิบัติธรรม
-การฝึกสมาธิ
-ความรักและความชัง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

222 แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก ราหุล เปรียบเหมือนคนทั้งหลายทั้งสิ่งของที่สะอาดบ้างไม่สะอาดบ้าง ถ่ายอุจจาระรดบ้าง ถ่ายปัสสาวะบ้าง ลงที่แผ่นดิน แต่แผ่นดินจะยึดอรด้วยสิ่งของนั้นๆ ก็หาไม่ ฉันใด ราหุล เธอจงทำจิตให้สมอแผ่นดิน ฉันนั่นแล เพราะเมื่อเธอทำจิตให้เหมือนแผ่นดินอยู่ เมื่อมีการกระทบอารมณ์เกิดขึ้น ความรักหรือความชังก็ไม่สามารถครอบงำจิตเธอได้ ฉันนั้น" ความหวั่นไหวเกิดขึ้นได้ง่าย เมื่อใจอารมณ์ถ้าไม่อยากหวั่นไหว ก็ต้องมิสติในกรมอง การฟัง การดมกลิ่น การรับรส การถูกต้องสัมผัส และความรู้สึกนึกคิด อย่าให้มีการยึดมั่นถือมั่นในการรับอารมณ์เหล่านั้น เมื่ิอฝึกบ่อยๆ ใจจะเริ่มหนานแน่นมั่นคง สมาธิจะตั้งมั่น การปฏิบัติธรรมก็จะดีเอง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More