เครื่องกันจิตปิดกันใจ แรงบันดาลใจจากพระไตรปิฎก หน้า 231
หน้าที่ 231 / 264

สรุปเนื้อหา

จิตของมนุษย์มีความใสดสง เรียกว่า 'จิตประภัสสร' แต่ถูกกิเลสหรืออคติรบกวน ทำให้จิตไม่ผ่องใส อาคันตุกิเลสเรียกว่า 'นิวรณ์' ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการทำสมาธิ มีทั้งหมด 5 ชนิด ได้แก่ กามฉันทะ, พยาบาท, ถิ่นมิทรั, อุทธัจจกุจฉะ, และ วิจิกิจฉา ที่ทำลายความเจริญในการปฏิบัติธรรม. ข้อมูลนี้มาจากพระสูตรต้นปฏิปทา มัชฌิมนิเทศ.

หัวข้อประเด็น

-จิตและกิเลส
-นิวรณ์ 5 ชนิด
-การทำสมาธิ
-การปฏิบัติธรรม
-พระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เครื่องกันจิตปิดกันใจ "จิต" ของมนุษย์นั้นเดิมมีความใสดสง สะอาดบริสุทธิ์ หรือที่เรียกว่า "จิตประภัสสร" แต่เพราะถูกอคติคูจะกิเลส (กิเลสที่จรมา) รบกวน จึงสูญเสียความใสรสง กระจ่างไป นำมาซึ่ง ความเศร้าหมองไม่ผ่องใส อาคันตุกิเลสที่กล่าวถึงนี้ เรียกว่า "นิวรณ์" หมายถึง เครื่องกันจิต ซึ่งจัดเป็นกิเลสชนกันกลาง เป็นอุปสรรคต่อการทำสมาธิ ทำให้จิตมัวหมองไม่ผ่องใส ใจไม่หยุดนิ่ง ดึงเข้าสู่ภายในไม่ได้ นิวรณ์ ที่กล่าวถึงนี้มีอยู่ ๕ อย่างด้วยกัน คือ ๑. กามฉันทะ (ความรักความพอใจในกาม) ๒. พยาบาท (ความปองร้าย ความอาชาต) ๓. ถิ่นมิทรั (ความท้อแท้ และความง่วงซึม) ๔. อุทธัจจกุจฉะ (ความฟุ้งซ่านรำคาญใจ) ๕. วิจิกิจฉา (ความลังเลสงสัย) นิวรณ์ทั้ง ๕ ชนิดนี้เป็นตัวกิเลสที่ทำลายความเจริญ ก้าวหน้า และขัดขวางการปฏิบัติธรรม ซึ่งพระพุทธองค์ทรง _________________________________________________________________________ สาราคุต: พระสูตรต้นปฏิปท มัชฌิมนิเทศ มัชฌิมปณฺฑาสก, มมร. เล่ม ๒ หน้า ๕๕๓
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More