แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก แรงบันดาลใจจากพระไตรปิฎก หน้า 64
หน้าที่ 64 / 264

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจแนวคิดเกี่ยวกับการทำบาปกรรมและผลของกรรมตามพระไตรปิฎก อธิบายถึงบุคคลที่มีคุณน้อยและมีคุณมาก รวมถึงผลกรรมที่เกิดขึ้นในชีวิตปัจจุบัน นอกจากนี้ยังยกตัวอย่างเพื่อเปรียบเทียบความเข้าใจในมิติของกิเลสและการเจริญจิตใจอย่างถูกต้อง สามารถเรียนรู้และรับแรงบันดาลใจจากคำสอนในพระไตรปิฎกเพื่อพัฒนาทักษะทางจิตใจและปัญญาของตนเองได้

หัวข้อประเด็น

-บาปกรรมและผลกรรม
-การเจริญปัญญา
-คุณธรรมของบุคคล
-ความเข้าใจในธรรม
-แรงบันดาลใจจากพระไตรปิฎก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

แรงบันดาลใจ จากพระไตรปิฎก นั่นก็ นำเขาไปสู่รากได้ คือบุคคลเช่นไร คือบุคคลบางคนในโลกนี้ ไม่เจริญกาม ไม่เจริญศิล ไม่เจริญจิต ไม่เจริญปัญญา มีคุณน้อย มืดตาทมืด (ใจคับแคบ ใจหยาบ ใจต่ำกาม) เป็นอัปปุทุกข์วิหาร (มักอยู่เป็นทุกข์ เพราะผลกรรมเล็กน้อย) บุคคลเช่นนี้ทำบาปกรรมแม่เพียงเล็กน้อย บาปกรรมนี้นำเขาไปสู่รากได้ (๒) บุคคลที่ทำบาปกรรมเพียงเล็กน้อยเช่นนั้นและบาปกรรมนี้ให้ผลในปัจจุบันเท่านั้น ไม่ให้ผลเมื่อต้นในอัสดงภาพที่ ๒ ไม่จำเป็นต้องพูดถึงผลมาก คือ บุคคลเช่นไร คือ บุคคลบางคนในโลกนี้ เจริญกาม เจริญศิล เจริญจิต เจริญปัญญาแล้ว มีคุณมาก มีอัตภาพใหญ่ (ใจว้าง ขวาง ใจสูง) เป็นอัปปมาณวิหาร (มีมติต่ออยู่ด้วยธรรมอันหาประมาณมิได้ คือเป็นคนไม่มีเลสหรือไม่แสดงกิเลส) บุคคลนี้ทำบาปกรรมเพียงเล็กน้อยเช่นนั้นแล บาปกรรมนี้ให้ผลในปัจจุบันเท่านั้น ไม่ให้ผลเมื่อเมื่อในอัสดงภาพที่ ๒ ไม่จำเป็นต้องพูดถึงผลมาก กิริยู่ทั้งหลาย เรียบเหมือน บุรุษใส่ถุนเกลือในขั้นในน้อย เธอทั้งหลายเข้าใจเรื่องนั้นอย่างไร น้ำในขันน้อยนั่นเคิม ดิบกินไม่ได้เพราะก้อนเกลือในนั้น ใช่หรือไม่
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More