ประวัติและการทำสังคายนาของพระพุทธเจ้า บันทึกอุปัฏฐาก หน้า 7
หน้าที่ 7 / 349

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงสถานที่ที่พระพุทธเจ้าและพระบริษัทได้เสด็จและจาริกไป โดยเริ่มจากการเล่าต่อกันมาและการทำสังคายนาครั้งที่ 5 ที่ทำให้ประวัติศาสตร์ถูกจารึก การบันทึกเหล่านี้มีความสำคัญต่ออนุชนรุ่นหลังที่ไม่ทันเหตุการณ์ นอกจากนี้ยังกล่าวถึงอำนาจของคำถามที่พระพุทธเจ้าได้รับจากพุทธบริษัทและการตอบของพระองค์ที่สะท้อนหนักในเรื่องต่าง ๆ ทั้งอดีตและอนาคต ซึ่งมีคุณค่าในการศึกษาความรู้และประวัติศาสตร์ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้คนรุ่นใหม่ที่ต้องการรู้เรื่องราวของอดีต

หัวข้อประเด็น

-พระพุทธเจ้า
-การทำสังคายนา
-อำนาจของคำถาม
-บันทึกประวัติศาสตร์
-คุณค่าของการจารึก
-การศึกษาประวัติศาสตร์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

10 สถานที่ที่พระพุทธเจ้าและเหล่าพระบริษัทได้เสด็จและจาริกไปในที่ต่างๆ ในเบื้องต้นนั้นก็ใช้วิบอกเล่าต่อกันมา ง่าย ยากที่เรื่องเหล่านั้นจะดำรงมั่น แต่ต่อมา บรรพบุรุษจารึกการทำสังคายนาครั้งที่ 5 แล้วได้จดจารึกเป็นอักษรไว้ ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์จึงตกทอดมาถึงยุคปัจจุบัน เฉกเช่นที่คุณโค้กองค์กรม สถาปนานั้น ได้บันทึกจารึกเป็นตัวหนังสือเรื่องต่างๆ ที่จะเลือนไปยางไปเฉพาะในยุคนี้ ก็จะเป็นประโยชน์แก่คนรุ่นหลังที่เกิดไม่ทันเหตุการณ์ ก็จะรู้เรื่องราวในอดีตได้ 4. ปุจฉาลิศัก โดยเฉพาะอำนาจคำถาม เฉกเช่น พุทธบริษัท ทูลถามเรื่องราวต่างๆ ทั้งอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบและตรัสเรื่องในอดีตและอนาคต เช่น เรื่องมงคลสูตรที่พระองค์ไม่ทรงปฏิเสธและยอมรับ ดังที่พวก มนุษย์และเทวดาลูกหลาน แล้วพระองค์ก็ตรัสชมลูกในแนวของพระองค์เองไว้ถึง 18 ประการ หนังสือบันทึกอุปัฏฐาก ที่คุณโค้ก องค์กรม สถาปนานนท์ จุดบันทึกและแทรกความคิดเห็นของตนเองไว้ด้วย ก็จะเป็นหนังสือที่มีคุณค่ามีประโยชน์แก่อนุชนรุ่นหลังที่เกิดไม่ทันเหตุการณ์หรือทันแต่ไม่ได้เห็น ไม่ได้ยิน ไม่ได้ฟังเฉพาะหน้าเหตุการณ์ ดังเช่นเรื่องรวบประวัติขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่เราท่านทั้งหลายรู้ได้ ก็เพราะผู้อธิษฐานจารึกเอาไว้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More