อธิบายลำไย้อนภาริย อธิบายบาลีไวยากรณ์ อาขยาต หน้า 34
หน้าที่ 34 / 115

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงลำไย้อนภาริยซึ่งประกอบด้วยธาตุ 3 คำ ได้แก่ กิละมติ และการที่ปัจจัยกับวิภติจะต้องลงในธาตุทุกตัวเพื่อไม่ให้ขาดหาย นอกจากนี้ยังมีการอธิบายเรื่องอุปัลลานามศัพท์และวิธีเปลี่ยนแปลงอุทุมมาก โดยเฉพาะการจำและสังเกตเพื่อให้เข้าใจการใช้งานได้ทั่วถึง และตัวอย่างที่มักจะเกิดขึ้นในธาตุ.

หัวข้อประเด็น

-ลำไย้อนภาริย
-ธาตุ
-ปัจจัย
-วิภติ
-อุปัลลานามศัพท์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายลำไย้อนภาริย - หน้าที่ 33 อ ปัจจัย เออย วิภติ เป็นต้น. ธาตุมี 3 คำ เช่น อ. ว่า กิละมติ ย่อมลำมา เป็น กิละม ธาตุ ในความลำมา อ ปัจจัย วิภติ คำโรติ ย่อมตื่น เป็น ชาตุ ธาตุ ในความตื่น โอ้ ปัจจัย วิภติ เป็นต้น. พึงสังเกตในที่นี้ว่า ปัจจัย กับ วิภติ ต้องลงในธาตุทุกตัว จะขาดเสมอได้เลย ส่วนอุปัลลานามศัพท์ หรือ ศัพท์บงบงตัวนั้น ไม่ เป็นของจำเป็น ซึ่งจะไม่ใช้นำหน้าเลยก็ได้ นอกอากาศนั้นเบาเนจากในที่บ่งแห่ง ซึ่งต้องการแปลความหมายของธาตุ หรือเพื่อให้เนื้อความแรง หรือ เค้นชัดขึ้นเท่านั้น นอกจากนี้ ยังมีวิธีเปลี่ยนแปลงอุทุมมาก อันจะวางหลักให้นอน หรือด้ายตัวลงไปหาได้ไม่ ต้องอาศัยนักเรียนมั่นสังเกตและจดจำ เป็นต้น ๆ ไป ซึ่งจะนำมาแสดงไว้ในตอนท้ายที่กล่าวจีธาตุอาจขาด พอเป็นตัวอย่างเฉพาะที่ใช้อยู่โดยมากเท่านั้น.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More