การเข้าใจประโยคและกริยาในภาษาไทย อธิบายบาลีไวยากรณ์ อาขยาต หน้า 29
หน้าที่ 29 / 115

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการทำความเข้าใจโครงสร้างของประโยคในภาษาไทย ซึ่งชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการเลือกคำและการระบุประธานในประโยค รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างกริยาและคำประธาน เช่น การเข้าใจคำว่าท่านทั้งหลายและการใช้ริิกซึ้งที่มีลักษณะเฉพาะ สุดท้ายยังเน้นถึงความสำคัญของการใช้ตัวประธานสำหรับการสื่อสารในประโยคภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ โดยสามารถเรียบเรียงให้ง่ายต่อการเข้าใจ

หัวข้อประเด็น

-การเข้าใจประโยคภาษาไทย
-ความสำคัญของประธาน
-การใช้กริยาในประโยค
-ตัวอย่างการแปลประโยค
-การเลือกคำในภาษาไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายลำใว้ภายใน อาถทด - หน้าที่ 28 มัชฌิมบูรณะ เอกวณะ เหมือนกัน เป็นการส่องถึงกันในตัวเอง ถึงใน การแปลความฉบับเป็นภาษาไทยก็เช่นเดียวกัน การที่จะหาตัวประธาน ของกริยาให้ถูกต้อง ก็ต้องอาศัยสังเกตริิกซึ้งประกอบด้วยวิดติ จึงสามารถที่จะเข้าใจบูรณเป็นประธานได้ เช่น เห็นประโยคว่า นาสุ มคฉ ทุตสามิ ก็ต้องคู่กริยา คือ ทุตสาม แล้วจะทราบ ได้ว่าเป็น สุภา วิภติ ซึ่งเป็น อุตมบูรณะ เอกวณะ ต่อนั่นจึง คิดหาตัวประธานที่จะตรงกัน ก็จะได้ อ ซึ่งเป็นทั้งบูรณะและวนะ ก็ ลงอิงกันกับ ทุตสาม ซึ่งเป็นกริยา เมื่อเป็นเช่นนี้ อท เป็นนิวมบูรณะ ตัวประธานในประโยค คือ คุณนต (ท่านทั้งหลาย) ซึ่งตรงกันกับริิกซึ้งบูรณะและวนะ จึงต้องแปลว่า "ท่านทั้งหลายจงออกไปจากที่นี้" แม้ในอื่น ๆ ก็ พิรามบทบัญบัติกล่าวนี้ อันยังมีข้อยกายอยู่งเล็กน้อย สำหรับริิกซึ้งที่เป็น ปฐมบูรณะ เพราะคำที่จะริิกซึ้งที่ประกอบด้วยอวิคติไวยบูรณะไม่มีมีอคัด แม่ท่านจะกำหนดว่า คำที่ ยังอถือเป็นเกณฑ์แน่นอนไม่ได้ จึง ต้องกำหนดอย่างกว้าง ๆ เพียงว่า นอกกาดูมุ และ อนุศ คำที่ แล้ว ใช้เป็นตัวประธานของริิกซึ้งที่เป็นปฐมบูรณะได้ทั้งนั้น เมื่อ เป็นเช่นนี้ ในการพูดหรือการเขียน ถ้าต้องการอุทิศ คน สัตว์ ที่ สิ่งของใด ๆ เป็นประธาน ก็ต้องใส่ตัวประธานนั้น ๆ เพิ่มเข้าไปด้วย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More