อธิบายลำไองค์ อามาด - หน้าที่ 40 อธิบายบาลีไวยากรณ์ อาขยาต หน้า 41
หน้าที่ 41 / 115

สรุปเนื้อหา

ในหน้านี้ได้อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของธาตุในหมวดต่างๆ ทั้งการคงรูปไม่เปลี่ยนและการเพิ่มเติม ปัจฉัย เพื่อสร้างคำใหม่ เช่น การทำให้ธาตุเป็นรูปแบบต่างๆ และการใช้แนวทางแยกประเภทธาตุตามลักษณะการใช้ในประโยค. นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงการเปลี่ยนแปลงของพยัญชนะในธาตุและตัวอย่างการแปลงกรุเป็นภาษาพูดไทย รวมถึงการใช้ในการเรียนรู้ภาษาได้แบบคล่องแคล่ว.

หัวข้อประเด็น

-ลำไองค์และธาตุ
-การเปลี่ยนแปลงของคำ
-ปัจฉัยและการใช้ในภาษา
-กรณีศึกษาการแปลงรูป
-ประโยคที่เกี่ยวข้องกับธาตุ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายลำไออกง์ อามาด - หน้าที่ 40 เมปุปดี (มีที่ใช้อื่น), ประกอบด้วย ย ปัจฉัย อิ อาคม (กัม-วาด) คงรูปไม่เปลี่ยนแปลงบ้าง อ. คหิต. ๗. หมวด คน ธาตุ ธาตุหมวดนี้ลง โอ้ ปัจฉัย เมื่อลงแล้ว มีวิธีเปลี่ยนแปลงดังนี้ :- คน คงรูปไม่เปลี่ยน อ. ตโนดิ. กร คงรูปไม่เปลี่ยน อ. กโติ, ลงที่ลูกในเมื่อประกอบด้วย ยริ ปัจฉัยบ้าง อ. กรีนา, กรีกา, แปลงกรุ เป็น กา ( บ้าง อ. อกซิส, อกุส, เมือง วิวัฒน์ วิวัฒ มีอำนาจให้แปลเป็น กาก บ้าง อ. กาหดี, กาหนดี. สูก คงรูปไม่เปลี่ยน อ. สกโกติ, ลง ย ปัจฉัย(กัม-วาด, ภาววาก) ได้รูปเป็น สุกกุต บ้าง, ลง อุณา ปัจฉัย ได้รูปเป็น สุกุกุติ, สุกุณุติ บ้าง. ชาร คงรูปไม่เปลี่ยน อ. ชาคิโติ. ๘. หมวด ดู ธาตุ ธาตุหมวดนี้ลง เตน, ณ อย ปัจฉัย เมื่อลงแล้วจน ณ เสีย และมีอำนาจ คือ ถ้าพยัญชนะต้นธาตุมีสารเป็น รัสสะ คือ อ อิอุ ไม่มีพยัญชนะสังโยค (ตัวสะกด) อยู่เบื้องหลัง ต้อง ที่ม คือ อ อีอุ เป็น อ, อ เป็น อุ, อ เช่น อ. วาเจส, ทูลสฺติ, คุทยติ เป็นต้น, วิการ คือ อี เป็น เอ บ้าง อ. เทสติ, อู เป็น โอ บ้าง อ. โอรติ, โรฌติ. ถ้าพยัญชนะต้นธาตุมีสารเป็น ทิฆะ อยู่แล้ว คือ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More