การศึกษาเกี่ยวกับธาตุในภาษาไทย อธิบายบาลีไวยากรณ์ อาขยาต หน้า 42
หน้าที่ 42 / 115

สรุปเนื้อหา

เอกสารนี้นำเสนอการศึกษาเกี่ยวกับธาตุในภาษาไทย โดยแบ่งออกเป็นธาตุ ๒ ประเภท คือ อภิบาทธาตุ ซึ่งไม่ต้องอาศัยกรรมในการสร้างความหมาย และสัมบาทธาตุ ซึ่งต้องอาศัยกรรม นอกจากนี้ยังกล่าวถึงการสังเกตความแตกต่างของธาตุทั้งสองประเภท ทำให้เข้าใจในเชิงลึกเกี่ยวกับการใช้ภาษาที่มีองค์ประกอบทางอารมณ์ในแต่ละธาตุ จึงเหมาะสำหรับผู้ที่สนใจศึกษาภาษาไทยในระดับที่สูงขึ้น ทั้งนี้สามารถค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-ธาตุในภาษาไทย
-อภิบาทธาตุ
-สัมบาทธาตุ
-การสังเกตความหมาย
-อารมณ์ในภาษาไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายลำไวกาย อารมณ์ - หน้า ที่ 41 เป็น อา อี อุ เอ โอ หรือมีพยัญชนะสังโยค ไหวตามเดิม ไม่ต้องทำตามวิธีดังกล่าวแล้ว อุ ภูเขา, มนุตตติ, จินตติ, จินตาติ, เป็นต้น สำหรับธาตุในหมวดนี้ ไม่มีที่สิ้นสุดในหมวด อื่น ลงได้เฉพาะ เณร, ณาย ปัจฉะ เท่านัน จึงไม่ได้แสดงวิธีเปลี่ยน แปลงไว้ ธาตุ ๒ บรรดาธาตุทั้งหมด จะเป็นธาตุใน ๘ หมวดที่กล่าวด้านนี้ก็ึดี ธาตุอื่น ๆ ซึ่งนอกจากนี้ ก็เมื่อจะกล่าวให้สั้น โยงโดยรวมแล้ว ก็จะมีเพียง ๒ คือ อภิบาทธาตุ ๑ สัมบาทธาตุ ธาตุตัวใดสำเร็จ เนื้อความในตัวเอง ไม่ต้องอาศัยกรรมม์สิ่งที่บุคคลทำเป็นเครื่องงง เนื้อความ คือไม่ต้องเรียกหากรรม ธาตุตัวนี้เรียกว่า อภิบาทธาตุ (ธาตุไม่มีกรรม) ธาตุตัวใดไม่สำเร็จนี้เนื้อความในตัวเอง ต้อง อาศัยกรรมเป็นเครื่องงง คือต้องเรียกหากรรม ธาตุตัวนั้นเรียกว่ สัมบาทธาตุ (ธาตุมิกรรมม) วิธีสังเกตรฐ๒ ตามที่ท่านได้ไว้ในแบบว่า ธาตุที่หมายออดันร่างไว้เป็นธาตุ มีกิรณ์ ซึ่งได้หมายไว้เป็นธาตุไม่มีกรรม ก็เพื่อชี้แนวทางให้สังเกต ว่า ธาตุทั้ง ๒ นี้ มีความหมายต่างกันอย่างไร เมื่อเราใช้ความ สังเกตให้ถ่องแท้แล้ว จะเห็นได้ว่า ธาตุที่หมายออดันร่างนี้ไว้ทุกตัว ล้วนเป็นธาตุที่ไม่สำเร็จความในตัวเอง ยังต้องเรียกกรรม ซึ่ง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More