ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อธิบายลักษณะอาการ อำนาจ - หน้าที่ 48
ว่าแปลเช่นไรจะได้ความตามภาษากไทย สพัทธ์พิเศษออกจากอุปสรรค
เหล่านี้ มีตัวอย่างที่ใช่อยู่บ้าง เช่น อ. ครูโรตี ย่อมทำให้หนัก
(ทำความเคารพ) สุขภิรส สูตรให้แจ้งแล้ว สุขภาพดี ได้ทำ
ให้แจ้งแล้ว ปฏภูมิ ปรุกภูมิ ได้ปรากฏแล้ว,
มนิสโร ย่อมทำไว้ในใจ พยงดุกาฬดี จักทำให้สิ้นไป, อาวี-
ภิวาสนุตี จักมีแจ้ง องลูกโร ย่อมประดับสม รักษะแยง พึง
ประดิสนำเสนอม เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมียุ่งมาทำ ที่ยามนี้พอ
เป็นตัวอย่างเท่านั้น.
กรยาสะพึงที่ใช้ดูกุณ
นอกจากนี้ ยังมีกระยาสพท์บ้าง ซึ่งอาจนำไปใช้เข้าสมาส
คือเชื่อมกับสะพท์านอื่นได้อีก เวลาปลายกลายเป็นคุณสะพท์ไปก็มี
แต่สะพท์เหล่านี้มิปรากฏอยู่แท้เพียง ๒ สพท์ คือ อะดุล (มอยู่)
กับ นฤดิล (ย่อมไม่มี) ซึ่งเป็นจำพวก อส ธุต เช่น อ.ว่า
อุติกาไว ความที่แห่ง....มียู่, นฤดิลาว ความที่แห่ง....ไม่มี,
นฤดิลาว ขนมไม่มี.
อสิ ธุต
ธาตุนี่เป็นไปใน "ความมี" "ความเป็น" เป็นธาตุซึ่งมีวิธี
เปลี่ยนแปลงแปรจากธาตุสามัญอื่น ๆ มีหลักเกณฑ์การเปลี่ยนแปลง
เฉพาะตนเอง เพราะฉะนั้น เพื่อความสะดวกจะได้รวมมากล่าวไว้
ในนี้ซึ่งทีเดียว การเปลี่ยนแปลงของธาตุนี้ เมื่อรวมรวมเป็น
หัวข้อที่สำคัญแล้วก็ คือ เมื่อประกอบกับวิกิฏแล้ว ลบตันธาตุบ้าง