ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อธิบายลาติวามารณ์ อาชาอาด - หน้าที่ 32
บท วจนะแ บร ษุ และจาก ดิกชันหนึ่ง
วิธีสังเกตธาตุ
การที่เราจะสังเกตทราบได้ว่า สัพท์นี้เป็นธาตุอะไร เพื่อที่จะ
ได้ทราบถึงคำแปลหรือความหมายเดิมของคำพ์ อันเป็นการสะดวก
แก่การที่จะเข้าใจเนื้อความได้แน่ชัดนั่น ต้องอาศัยการเข้าในวิธี
แยกคำพท์ทีควรนั้นออกเป็นส่วน ๆ ทั้งต้องทราบเครื่องปรุงที่ประกอบ
กับธาตุคือ วิถีติ และปัจจัย โดยละเอียดยิบด้วย นอกจากนี้ ยังมี
คำพท์อีกประเภทหนึ่งที่ใช้นำหน้าชคำดู เพื่อทำเนื้อความของธาตุให้
มีความหมายผิดจากเดิม หรือหนุนให้แรงขึ้น แล้วแตคำพท์นั้นจะมี
ความมุ่งหมายไปในทางไหน สัพท์นี้คือ อุปสรรค อุปสรรค เมื่อใช้
นำหน้าชคำแล้ว นำความหมายของธาตุให้ผิดจากเดิมหรือแรงขึ้น
อย่างไร จะอธิบายต่อไปข้างหน้า ในที่นี้ จะอธิบายแค่วิธีสังเกต
วิธีแยกธาตุเท่านั้น คำที่เป็นธาตุอย่างแท้จริง มีเพียง ๑ คำบ้าง
๒ คำบ้าง และอย่างมากที่สุด ๓ คำเท่านั้น นอกจากนั้น ถ้า
นำหน้าก็เป็นอุปสรรคบ้าง คำอื่นๆ นอกจากนั้นบ้าง (มี่าง ๆ) คำ
ตามหลักก็เป็นวิกิตบ้าง ปัจจัยบ้าง ซึ่งใช้สำหรับประกอบกับธาตุ
ธาตุที่มีคำเดียว เช่น อ. ว่า ธูณาติ ย่อมกำจัด เป็น ธู ฑาติ
ในความกำจัด นา ปัจจัย ดี วิถีติ, เนติ ย่อมนำไป เป็น นิ ธาตุ
ในความนำไป ณ ปัจจัย ดี วิถีติ, เนติ พฤกธิอ แห่ง นิ เป็น เอ เป็นต้น.
ธาตุมี ๒ คำ เช่น โภติ ย่อมทำ เป็น กร ธาตุ ในความ
ทำ โป้ง ปัญจี ดี วิถีติ, ภเชย พิงบ เป็น ภู ธาตุ ในความคบ