ประเภทของถ้อยคำที่แสดงธรรมในพระพุทธศาสนา ความรู้ประมาณ รากฐานความมั่นคงของพระพุทธศาสนา หน้า 90
หน้าที่ 90 / 188

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงประเภทของถ้อยคำที่ใช้แสดงธรรมในพระพุทธศาสนา ประกอบด้วยเคยยะ ซึ่งเป็นถ้อยคำที่แสดงธรรมในรูปแบบร้อยแก้วและร้อยกรอง, เวยยากรณะ ที่เน้นความเรียงล้วนๆ, คาถา ที่ใช้การประพันธ์ในรูปแบบร้อยกรอง, และอุทาน ซึ่งเป็นคำพูดที่แสดงธรรมด้วยพระอุทานที่สำคัญ นอกจากนี้ยังพูดถึงพระอภิธรรมปิฎก อิติวุตตกะ และชาดก ที่มีเนื้อหาสำคัญต่อการเข้าใจในธรรมะและศาสนา โดยบรรยายถึงเรื่องราวในอดีตชาติและบทบาทของพระโพธิสัตว์ในการสร้างบารมี ซึ่งทั้งนี้เป็นฐานรากที่สำคัญเพื่อความมั่นคงของพระพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-ประเภทถ้อยคำ
-เคยยะ
-เวยยากรณะ
-คาถา
-อุทาน
-อิติวุตตกะ
-ชาดก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

www.kalyanamitra.org ๒. ๓. ๔. ๕. เคยยะ หมายถึง ถ้อยคำที่แสดงธรรมด้วยเนื้อความ ที่เป็นร้อยแก้วผสมกับร้อยกรองทั้งหมด ได้แก่ พระ สูตรต่างๆ ที่มีเนื้อความเรียงและการประพันธ์คาถา เป็นโคลงฉันท์อยู่ในพระสูตรเดียวกัน เวยยากรณะ หมายถึง ถ้อยคำที่แสดงธรรมด้วย เนื้อความที่เป็นร้อยแก้ว (ความเรียง) ล้วนๆ ไม่มี การประพันธ์คาถาเป็นโคลงฉันท์ร่วมอยู่ด้วย พระอภิธรรมปิฎกทั้งหมด พระสูตรที่ไม่มีคาถา และ พระพุทธวจนะที่ไม่ได้จัดเข้าในหมวดอื่นทั้ง 4 หมวด ได้แก่ คาถา หมายถึง ถ้อยคำที่แสดงธรรมด้วยการประ พันธ์เนื้อความที่เป็นร้อยกรองล้วนๆ เช่น ธรรมบท เถระคาถา เถรีคาถา และคาถาล้วนๆ ที่ไม่มีชื่อ อุทาน หมายถึง ถ้อยคำที่แสดงธรรมด้วยการเปล่ง พระอุทานด้วยพระโสมนัสญาณ ได้แก่ พระสูตร ๘๒ สูตร ที่ขึ้นต้น 5. อิติวุตตกะ หมายถึง พระสูตร ๑๑๐ สูตร ด้วยถ้อยคำแสดงธรรมว่า “ข้อนี้สมจริงดังที่พระผู้มี พระภาคเจ้าตรัสไว้” ๗. ชาดก หมายถึง ถ้อยคำที่แสดงธรรมด้วยการเปิด เผยเรื่องราวในอดีตชาติเมื่อครั้งพระองค์ยังทรงสร้าง บารมีเป็นพระโพธิสัตว์ มีทั้งหมด ๕๕๐ เรื่อง พุทธภารกิจเร่งสร้างครู ความรู้ประมาณ ๗๖ รากฐานความมั่นคงของพระพุทธศาสนา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More