การฝึกตนในผู้ปฏิบัติกิจวัตรทางสงฆ์ ชีวิตสมณะ (ฉบับมหาปวารณา) หน้า 15
หน้าที่ 15 / 407

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการระวังเกี่ยวกับการบวชและการฝึกตนของพระสงฆ์และเณร โดยชี้ให้เห็นว่าความสบายในเบื้องต้นอาจเป็นอุปสรรคในการพัฒนาจิตใจและการศึกษาในระยะยาว หากไม่ได้มีการตั้งเป้าหมายที่ชัดเจนในการฝึกฝนตัวเอง นอกจากนี้ยังเตือนให้ไม่พอใจกับลาภหรือความสะดวกสบายเพียงชั่วคราว ซึ่งอาจนำไปสู่การขาดพัฒนาการในอนาคต.

หัวข้อประเด็น

-การระวังในการบวช
-ผลกระทบของความสบาย
-การฝึกตนในพระสงฆ์และเณร
-การตั้งเป้าหมายในการศึกษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เรื่องนี้เป็นเรื่องที่ต้องระวังทั้งพระทั้งเณร ถ้าไม่ระวัง พอได้ลา สักกระมาก็จะภูมิใจอยู่แค่บน จะใช้อยู่ ขนฉัน ก็สะดวกบริบุรีณ ไปทุกอย่าง หน้าตาผิวนั้นผ่องใส ถ้าเรามีใจอยู่ แค่ก็ การฝึกตนของเราจะไปไม่ถึงไหน วนเวียนอยู่แค่ความสบายที่เรียกร้องจากญาติโยมได้อยู่เรื่อย ๆ โดยไม่รู้จักประมาณ แต่สิ่งที่พวกเราอาจลิ้มไปก็คือ ความสบายจะเป็นมิฏิร์กับเราในตอนแรก แต่จะเป็นศัตรูร้ายกับเราในภายหลัง เพราะเมื่อบวชไปเรื่อย ๆ พรรษาก็มีแต่สูงขึ้น ๆ แต่เนื่องจากตลอดเวลาที่อยู่ในวัดก็ไม่ได้ตั้งใจเหตุว่าอะไร เพราะตั้งแต่บวชชั้นแรกก็ ตั้งเป้าว่าจะบวชไปเรื่อย ๆ บาง หรือจะเอาเท่านั้นเท่านี้ประโยชน์พอได้ อย่างนั้นตามที่นึกแล้ว ก็เลยหยุดอยู่แค่นั้น เพราะว่าลากสักกะก็มีแล้ว ไม่อดไม่อยาก ก็เลยไม่ขวนขวายฝึกตนต่อไปอีก ท้ายที่สุดพอพรรษาสูงขึ้น แต่ไม่ได้ฝึกทำงานให้เป็นชิ้นเป็นอัน ก็จะเกิดปัญหาตามงานของหมู่คณะไม่ทัน แล้วก็จะเกิดอาการเคลว้างจนกระทั่งสิ้นหา ลาเภาไป นี่คืออาการติดลาคะการะ ซึ่งเป็นแค่กินใบ ยังไม่ถึงสะเก็ด ไม่ถึงเปลือกแห่งการประพฤติพรหมจรรย์ด้วยซ้ำ เพราะฉะนั้น อย่าตั้งเป้าหมายการศึกษาเพียงแค่ได้ ๙ ประโยค ต้องตั้งเป้าว่า หลังจากได้ ๙ ประโยค แล้วจะนำมาทำอะไรได้บ้าง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More