การรับฟังคำแนะนำอย่างมีสติ ชีวิตสมณะ (ฉบับมหาปวารณา) หน้า 288
หน้าที่ 288 / 407

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เน้นความสำคัญของการมีสติในการรับฟังคำแนะนำจากผู้อื่น โดยอธิบายว่าเมื่อไหร่ที่เราได้รับคำแนะนำ เราควรจะพิจารณาคำแนะนำเหล่านั้นด้วยปัญญา ความรักและการมีกัลยาณมิตรจะช่วยให้เราเติบโตและปรับปรุงตัวเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ การหันมาพิจารณาตนเองและเปิดใจรับฟังคำแนะนำเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการเข้าถึงธรรมะและนำไปสู่พระนิพพาน

หัวข้อประเด็น

-การมีสติในการรับฟัง
-กัลยาณมิตรและความรัก
-การพัฒนาตนเองและการแก้ไข
-ความสำคัญของพระธรรมวินัย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เป็นที่ร่วมของน้ำจากห้วยหนองคลองบึง พอไปรวมกันในทะเลก็มีรสเดียวกัน เสมอกันหมด ดังนั้นต่างก็จะเป็นกัลยาณมิตรให้กัน คอยชี้มทรัพย์แนะนำว่า สิ่งที่เห็นได้ยินหรือสงสัยวาท่านั้นท่านนั้นประพฤติปฏิบัติยังไม่ถูกต้อง ตามพระธรรมวินัย จะเป็นเหตุให้เน่าช้าต่อหนทางพระนิพพาน ก็จะดักเตือนกันโดยธรรมวินัย ด้วยความรักความปรารถนาดี เหมือนเศรษฐีชีหตุฆาตาย หรือคนที่เห็นชุมทรัพย์แล้วก็ชี้มทรัพย์ให้ด้วยความรักและปรารถนาดี จะได้ปรับปรุงตัวหรือมาพิจารณาตัวเองว่าเป็นอย่างที่เขาว่าไหม ในสมัยนั้น เขาอาจไม่โกรธ ไม่อุ่นว่าวกัน จะทนต่อคำแนะนำ ซึ่งบางทีก็ไม่ตรงกับความคิดเห็นของเรา แต่ก็สามารถรับฟังได้ ฟังแล้วนำมาพิจารณาโดยสติปัญญาด้วยเหตุผล เอาใจกับมายอยู่กับเนื้อกับตัว ให้มันเกิดดวงปัญญา เอาแสงสว่างแห่งปัญญานั้นมาส่องใจ ตรวจดูกูถูกยาวจากใจ ถ้ากบพร้อมก็แก้ไข แล้วก็ไปราบขอบพระคุณผู้ที่แนะนำ จะไม่อุ่นวมัว ไม่ตามล่าหากันเหมือนสมัยนี้ พอมีโครมาแนะนำมาบอกผู้ปกครองหรือพระเณร แทนที่จะพิจารณาตัวเอง กลับไปถามหว่าว่าใครคนไหนมาบอก มีอารมณ์อยากจะไปศึกษาว่า เขามาจากไหน ชื่ออะไร นามสกุลอะไร ตายแล้วไปไหนอะไรอย่างนั้น สมัยนั้นไม่มีการตามล่ากัน มีแต่หยุดใจดู นิ่ง จริงหรือเปล่าที่เขามาแนะนำ ถ้าไม่จริงก็แล้วไป จริงก็แก้ไข แล้วก็ขอบคุณแค่นั้นเอง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More