อาการในการทำวัตรนา ชีวิตสมณะ (ฉบับมหาปวารณา) หน้า 95
หน้าที่ 95 / 407

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงอาการในการทำวัตรนิมิ ที่พระพุทธเจ้าได้ทรงอนุญาตให้ภิกษุทำวัตรนิมิเฉพาะเมื่อทำโดยชอบธรรม นอกจากนี้ยังมีพระบรมพุทธานุญาตให้ภิกษุที่ไม่สบายสามารถให้ผู้อื่นทำวัตรนิมิแทน และคำสั่งเกี่ยวกับกรณีที่มีภิกษุไม่ถึง 4 รูป ทำวัตรนิมิได้อย่างไร รวมถึงข้อกำหนดต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงกรณีไม่สามารถทำได้ในเหตุการณ์สำคัญ. ข้อมูลเชิงลึกนี้จะช่วยให้เข้าใจความสำคัญของการทำวัตรนิมิในพระพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-การทำวัตรนิมิ
-อนุญาตของพระพุทธเจ้า
-ภิกษุไม่สบาย
-กรณีไม่ถึง 4 รูป

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อาการในการทำวัตรนา ต่อมา ภิกษุทั้งหลายเกิดสงสัยอีกว่า อาการทำวัตรนิมิเท่าไร จึงนำเรื่องไปปรามูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ทรงรับสั่งว่า การทำวัตรนิมิ ๔ อย่าง คือ แบกพวกกันทำวัตรนิมิโดยไม่ชอบธรรม พร้อมเพรียงกันทำวัตรนิมิไม่ชอบธรรม แยกพวกกันทำวัตรนิมิโดยชอบธรรม และพร้อมเพรียงกันทำวัตรนิมิโดยชอบธรรม ซึ่งพระองค์ทรงอนุญาตให้ทำวัตรนิมิเฉพาะที่พร้อมเพรียงกันทำโดยชอบธรรมเท่านั้น พุทธานุญาตอื่นๆ ภายหลังมีภิกษาบางรูปไม่สบาย ไม่สามารถมาร่วมทำวัตรนิมิได้ จึงทรงอนุญาตให้ภิกษุผู้นั้นไม่สบายเนั้น ใช้ให้ภิกษู่อื่นทำวัตรนิมิแทนตนได้ ต่อมาภิกษุเกิดสงสัยอีกว่า หากมภิกษุไม่ถึง ๔ รูป ควรทำวัตรนิมิอย่างไร พระพุทธองค์จึงมีพระบรมพุทธานุญาตให้วาสาที่มภิกษุอยู่เพียง ๔ รูป ๓ รูป หรือ ๒ รูป ทำวัตรนิมิเองเป็นคณะ และหากมีเพียงรูปเดียว ให้อธิษฐานเป็นส่วนบุคคล คือ ตั้งใจว่า วันนี้เป็นวันมหาวันาของเรา และหากมีเหตุจำเป็นบางประการ ที่จะทำวัตรนิมิ ๓ ครั้งไม่ได้ เช่น เมื่อเกิดอันตรายหรือความไม่สะดวกอย่างใดอย่างหนึ่งใน๑๐ อย่างนี้ คือ ๑๕ ชีวิต สมณะ (ฉบับมหารวราฎ) www.kalyanamitra.org
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More