หลักวิชชาของบัณฑิตนักปราชญ์ ชีวิตสมณะ (ฉบับมหาปวารณา) หน้า 305
หน้าที่ 305 / 407

สรุปเนื้อหา

บทนี้กล่าวถึงการปวรณาต่อพระรัชการ และเตือนให้รักษาความตั้งใจไม่ให้เป็นเพียงธรรมเนียม เท่าที่ผ่านมาเรายังมีความโกรธและความขุ่นเคือง การเข้าใจถึงการลดมานะทิฐิ และพิจารณาความถูกต้องของการตักเตือนจากเพื่อนเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อให้ชีวิตมีความสงบสุขและไม่แตกแยก

หัวข้อประเด็น

-หลักวิชชาของบัณฑิตนักปราชญ์
-การปวรณาไม่ให้เป็นธรรมเนียม
-การควบคุมอารมณ์และความขุ่นเคือง
-การพิจารณาความถูกต้อง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ถูกหลักวิชชาของบัณฑิตนักปราชญ์ในกาลก่อน บุญนี้จะเกิดขึ้นกับเราและโยมพ่อโยแม่ บรรพบุรุษ หมู่ญาติ ตลอดจนสรรพสัตว์ทั้งหลายไปด้วย ปวรณากันแล้ว อย่าให้เป็นเพียงธรรมเนียม วันนี้เป็นวันสุดท้ายของพระราชา เราได้ปวรณากันแล้วขอให้ทำอย่างที่เราได้ตั้งใจปวรณา อย่าทำเพียงตามธรรมเนียม พอถึงวันมหาปวรณาเราก็มาปวรณากันตามธรรมเนียม แต่พอหลังจากวันนี้ไปแล้ว เพื่อนสรรสามิมาเห็นเราประพฤติปฏิบัติพ้องและแนะนำเราก็อย่าไปโกรธ อย่าไปขุ่นเคืองเขา ถ้าหากห้ามความโกรธความขุ่นมัวไม่ได้ เพราะว่ารายังมีภูมิรส มานะอยู่ในตัว ก็ให้ลดมานะทิฐิทวนใจไว้ในระดับที่ฟังได้ แล้วมันไม่ล่นออกมาทางปากโตตอบเขาไป หรือขยายออกมาทางกิริยอาการ ทาระบบประสาทกล้ามเนื้อ เพื่อแสดงให้เขาเห็นว่า เราไม่พอใจ อย่าให้ถึงขนาดนั้น เหลืออยู่ในระดับที่เรามใจได้ ที่เรียกว่า “อามะ” คือ แม้เราจะขุ่นมัวขัดเคืองก็ข่มเอาไว้ ให้มันอยู่อย่าให้มันล้นออกมา แล้วช่วงไหนที่ใจสบาย ก็พิจารณาดูในสิ่งที่เพื่อนสรรสามิเขาตักเตือนว่า เขาตักเตือนโดยธรรมไหม ถูกต้องไหม เราเป็นจริงอย่างนั้นจริงหรือเปล่า ถ้าเราไม่เป็นจริง เป็นความเข้าใจผิดพลาดคลาด ๒๒๔ ชีวิตสมณะ (ฉบับมหาปวรณา) www.kalyanamitra.org
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More