วันมหาปวารณาและความหมายในประเพณีพุทธศาสนา ชีวิตสมณะ (ฉบับมหาปวารณา) หน้า 287
หน้าที่ 287 / 407

สรุปเนื้อหา

วันที่ 10 ตุลาคม 2559 เป็นวันมหาปวารณา ซึ่งถือเป็นการปวารณากันในสมัยพุทธกาล การปวารณาถือเป็นอรัญประเพณีที่มีความสำคัญ โดยพิธีกรรมนี้มีบทบาทช่วยให้ผู้ออกบวชมีจุดประสงค์ร่วมกันในการทำพระนิพพานให้แจ้ง พวกเขาเห็นถึงภัยในวัฏสงสาร จึงตัดสินใจบวชเพื่อต่อสู้กับกิเลสและสร้างกรรมดี ก่อนวันออกพรรษา ทุกคนจะมารวมกันเพื่อสนับสนุนกันในเส้นทางแห่งการปฏิบัติธรรม และถือกันว่าบวชทุกคนเป็นครอบครัวเดียวกันในสายธรรมวินัย โดยมุ่งเน้นถึงความเสมอภาคและการเคารพในอาวุโส

หัวข้อประเด็น

-วันมหาปวารณา
-ประเพณีการบวช
-ความสำคัญของการปวารณา
-พระพุทธศาสนา
-การสร้างกรรมดี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

วันศุกร์ที่ ๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ วันนี้เป็นวันมหาปวารณา เราก็ได้กล่าวคำปวารณากันเสร็จ เรียบร้อยแล้ว ในสมัยพุทธกาล การปวารณาชั้นกันและกันไม่ได้เป็น ธรรมเนียมปฏิบัติอย่างเดียวเท่านั้น แต่ถือเป็นอรัญประเพณี ภิญฑุทธรรมที่เข้ามาบวชในสมัยพุทธกาล ต่างมีวัตถุประสงค์หวัง ทำพระนิพพานให้แจ้ง เพราะเห็นภัยในวัฏสงสาร เห็นชีวิตวราว อดีดดดับแคบ มีแต่ปัญหาเรกดดัน แวดล้อมไปด้วยสิ่งที่ทำให้ศีล ได้งาย จึงตัดสินใจออกบวช ไม่ใช่ขอทาน สมัครตน บนตัว หรือกลัวภัย อะไรต่าง ๆ ไม่ใช่ แต่บขเพราะมีวัตถุประสงค์จะเอาชนะแก่เสน่ห์มัน ยำ้ในใจและบังคับให้สร้างกรรม แล้วก็มีวิบากให้วนเวียนกันอยู่ใน สังสารวัฏ เมื่อฟังคำสอนของพระบรมศาสดาเกิดกุศลศรัทธาเข้ามา บวช ปลดกังวลแล้วก็ปลอดกังวลจากชีวิตที่วุ่นวาย แล้วก็มาเติมความ บริสุทธิ์กายวาจาใจกันทุกวันทุกคืน พอวันสุดท้ายก่อนออกพรรษา ต่างก็มาเวรมาเพื่อให้ช่วย เป็นกลายมิตรซึ่งกันและกัน คือ สมัยก่อนถือว่าบวชทุกรูปเหมือน เป็นครอบครัวเดียวกัน เป็นพี่เป็นน้องกัน บวชก่อนเป็นพี่บวชหลัง เป็นน้อง ไม่ว่าจะจากไหน ชนชั้นไหน จะวะจะจอ จะล่า จะอี่ทรจะผอมไม่คำณึง เมื่อเข้าสมบวชอยู่ในธรรมวินัย แล้วก็เสมอกัน และให้เคารพกันตามอาวุโสกันเต เหมือนทะเล
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More