การปวารณาในพระพุทธศาสนา ชีวิตสมณะ (ฉบับมหาปวารณา) หน้า 93
หน้าที่ 93 / 407

สรุปเนื้อหา

การปวารณาคือการเปิดโอกาสให้ภิญญูอื่นแนะนำหรือเตือนตนเองเกี่ยวกับการกระทำที่อาจจะผิดได้ แสดงถึงความเคารพในพระวินัย อนุญาตให้ทำปวารณาร่วมกันในวันสุดท้ายของการอยู่จำพรรษาในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือ 12 ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าได้อนุญาตให้ภิญญูตั้งแต่ 5 รูปขึ้นไปทำปวารณาร่วมกัน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดการยอมรับและการปรับปรุงตัวเองในกลุ่มของภิญญู.

หัวข้อประเด็น

- การปวารณาในพระพุทธศาสนา
- ความหมายและความสำคัญของปวารณา
- วันมหาปวารณาและการปฏิบัติ
- การเคารพในพระวินัย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

"ภิญญาไม่พึงสมาทนุมค วัตรที่พวกเดียวธีียสมาทนกัน รูปใช้สมาทน ต้องอบิททุกกฎ" ทรงอนุญาตการปวารณา ครั้งแล้วพระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงอนุญาตให้ภิญญูดำรงพระปวารณาแล้ว ปวารณาต่อกันด้วยเหตุ 3 สถาน คือ ด้วยได้เห็น ด้วยได้ฟัง หรือด้วย นึกสงสัย (ว่าได้ทำความผิดทางกาย ทางวาจา) อันเป็นวิธีที่เหมาะสม เพื่อกล่าวคำเตือนซึ่งกันและกัน ทั้งเป็นวิธีอาถาปติ และ เป็นวิธีเคารพในพระวินัยของภิญญูทั้งหลายสิบไป ปวารณาคืออะไร "ปวารณา" โดยรูปศัพท์ แปลว่า ยอมให้ขอ เปิดโอกาสให้ขอ หรือ ยอมให้กล่าวต้ติเตือน ส่วนคำว่า "ปวารณา" ที่มุ่งหมายในที่นี้ หมายถึง การที่ภิญญู เปิดโอกาสให้ภิญญูอื่นว่ากล่าวต้ติเตือนตนเองได้ ซึ่งจัดเป็นสังฆกรรม อย่างหนึ่ง ที่พระภิญญูสูงจะต้องทำร่วมกันในวันสุดท้ายของการอยู่ จำพรรษา คือ ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 (สำหรับผู้เข้าจำพรรษาในพรรษาหล ง) วิธีปวารณา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงอนุญาตให้ภิญญูตั้งแต่ 5 รูปขึ้นไป ทำปวารณาร่วมกัน โดยเมื่อถึงวันมหาปวารณา ให้ภิญญูเหล่านี้มา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More