ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อธิบายบทไอวาสร่วมและติชฌาน - หน้าที่ 2
ศัพท์ ปุรศศัพท์ เป็นต้น ส่วนที่ประกอบด้วยวิตกติแล้ว เรียกว่า บท เช่น มหนุตโต เป็นบทหนึ่ง ปุรโส เป็นบทหนึ่ง เมื่กำหนด ความต่างแห่งคำว่าศัพท์และบทธ ได้ดังนี้แล้ว พึงกำหนดคำว่าภาระต่อไป
วิเคราะห์แห่งสมานั้น ต้องประกอบพร้อมด้วยลักษณะดังนี้
ก. อนุใบบทน้อย ที่เรียกว่า หานำบทปลง
ข. ทบทลงคือบทสมาส ที่อ่อนอนบทนั่นเข้าเป็นอันเดียวกัน
อุทารณ
มหหนุตโต ปุรโส มหาปุรโต กิตติ ปุรโส กิตติ เป็นบทที่ยังแยกกันอยู่ จึงถือเป็นอนุใบบท แต่ละบท ๆ เมือเอามาหนุตโต และ ปุรโส มาช่อมให้กัน เป็น มหุใบวต กล่าวาม มหาปุรโต ในวิเคราะห์นี้เรียกว่า บทลง หรือสมาส สด คือ สำหรับบูเป็นบทสมาล โดยนีนี้ วิคะหะหนึ่ง ๆ จึงมีทั้งอนุใบบทและบทลง แต่อนุใบบท (นอกจากบททวสมาล) ย่อมมี บท ๒ บาท และมีชื่อเรียกต่างกัน ตามที่อยู่บนหรือหลัง อนุใบบทที่อยู่หน้า เรียกว่า บูพบท ที่อยู่หลังเรียก อุตตรบท เหมือนอย่าง มหหนุตโต ปุรโส ทั้ง ๒ นี้ มหนุตโต อยู่หน้า เรียกบูพบท ปุรโส อยู่หลัง เรียกอุตตรบท พึงกำหนดอนุใบบทซึ่งแยกเป็นบูพบท และอุตตรบท และบทลง ตามที่บรรยายมา ณ นี้
สมานนี่ เมื่อว่าโดยกิจก็อการะทำหรือรูปสำเร็จของวิเคราะห์ มี ๒ คือ: -