ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อธิบายกฎไว้อย่าง สาเหตุและลักษณ์ - หน้า ที่ 40
ข. ของหลายอย่าง ที่รวมกันบ้าง ของสิ่งเดียวกัน ที่นำมา
ซ้อนกัน ต้องห้องของที่ควรอ่อนเสียก่อนแล้วซ้อนกันฉันใด การตั้ง
วิเคราะห์สนามของอย่างเช่นนั้น คือควรซานมาที่นี่เองกัน
โดยเนื้อความเสียก่อน แล้วนำมาเข้าสสนามกับบอื่น ๆ ต่อไป เช่น :-
๑. พาโล ปรีโส-พลาโล ปรีโส บูรณ์โง่
๒. ปณุทิตา ปรีโส-ปณุทิตา ปรีโส บูรณลาด.
๓. พาโล ปรีโส-ปณุทิตา ปรีโส-ปาโล ปรีโส-ปณุทิตา ปรีโส.
(อาหารทานวนवา) บูรณู่งและผู้ฉลาดหลาย.
ใน ข้อนี้ เรา จะเห็นได้ในข้อ ๑ ว่า พาโล ศรีพที เป็นคุณของ ปรีโส
ต้องเข้ากันเสียก่อน และในข้อ ๒ ปณุทิตา ศพที เป็นคุณของ ปรีโส
ก็ต้องเข้ากันเสียก่อน แล้วจึงมาดันต่อกันในข้อ ๓ เวลามาแปลก็ต้องเปล
ข้อ ๑ ก่อน แล้วจึงแปลข้อ ๒ ข้อ ๓ ต่อไป เพราะการเปลสมาท้อง
บางสมาส ขึ้นบทหน้า ก่อนก็มี ขึ้นบทท่ามกลางก่อนก็มี ขึ้นบทหลัง ก่อน
ก็มี แล้วเนื้อความจะบ่งให้เห็นไปทางไหน ดีกว่า ถูกว่ากัน เท่านั้น.
ค. การเข้าสมาสและแปลต้องสังเกตความเป็นสำคัญ ข้อหนึ่งงวด
ควรวัง ว่า ก่อน แปลทีหลัง ก็มี ตั้งทีหลังแปลก่อนก็มี ตั้งก่อน
แปลก่อน ตั้งทีหลังแปลทีหลัง ก็มี แล้วเนื้อความอันเดียวกันเป็น
หลัก ข้อ นี้ผู้กาชาต้องวิเคราะห์ให้ได้คู่ต้องตามหลักแห่งคำแปลเนื้อ
ความ และตั้งวิเคราะห์ดำเนินตามหลักของสมานั้น แล้วนามเข้า
สมาสท้องให้ถูกต้องตามคำแปลและหลักสมาส อธิบายความชำนาญทั้ง ๒
ทาง คือภาษาอย่าง ๑ หลักสมายอย่าง ๑ รวมกันจึงจะตั้งวิเคราะห์และ