ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อธิบายลิไวภารี สมและติธรรม - หน้าที่ 53
หลาย ๆ บทเข้าด้วยกัน โดยวิธีสับวัตติของศีหหน้าบ้าง ไม่สมบ้าง เพื่อป้องกันความรังรงของวิภัตติและบท which ไม่จำเป็นในระหว่าง
ศพททั้ง 2 เสีย และบางศพทที่กลางเสีย โดยอธิบศพหน้ำและศพทหลังเป็นหลัก วิธีนี้เรียกว่า มัชฌิมโลสมาส แปลว่าสมาส
ลดศพที่มากกลาง เช่น อสูเสน ยุตตด ริโก ย่อเข้ามาสมาสเป็น อสูสรโก
โดยลบ ยุตตด เสีย ก็กล่าวว่า รถเทียมด้วยม้า เป็นต้น ได้ความว่า
สมาสนั้น ลบวิภัตติ ของศพที่หน้าอย่างหนึ่ง ไม่ต่ออย่างหนึ่ง และ
ลดศพาที่มากกลางอย่างหนึ่ง.
ส่วนด้านิต ถ้ํ 2 ศพหรือมากกว่านั้น ซึ่ง มีเนื่อความ
แปลได้เต็มที่แล้วก็มา ต้องลบศพที่หลังทั้งเสีย แล้วลงปัจจัยแทน
ไว้ ก็แปลได้ความเท่าเดิม เช่น ธมมะ-นิยุตโต แปลว่า ประกอบ
ในธรรม ลบ นิยุตด เสีย ลง ถึงปัจจัยแทนไว้ที่ ธมมะ เป็น
ธมมิก แปลว่า ประกอบในธรรม ดังนี้ นั่นว่าทอนศพให้เน่
ลง และทั้งความก็ไม่เสีย ศพที่ถ้าเป็นสมาส ก็แปลว่ามีวิภัตติของ
ศพหน้า แล้วอธิบสมาสเป็น ธมมนิยุตโต เท่าน้น ส่วนด้านิติ
เป็น ธมมิโก ธมุมิอุโฑ ก็ ธมมิโก ก็อิแปลว่า ประกอบ
ในธรรมเหมือนกัน นี่ความต่างกันของทติษฎ และสมาส.
[ หลักของการแบ่งด้านิตติ ]
ด้านิตติ นั้นโดยย่อแบ่งเป็น ๑ อย่าง คือ สามัญด้านิต ๑
ภาวด้านิต ๑ อภัยด้านิต ๑ เกณฑ์ที่แบ่งด้านิตออกเป็น ๓ นี้