ข้อความต้นฉบับในหน้า
คำชี้แจง
ความรู้เกี่ยวกับการย่อคำต่อคำหรือคำหมายน ระหว่างคำสองคำกิ่ด
ย่อคำหน้าบ้างหลังบ้างก็ดี เป็นลักษณะของสมาส มีทั้งในสำเนาไทย
และบาลี เช่นคำว่า “สุรสเปโต” แปลเป็นสมาสในไทยว่า "เปรตหมู"
การตั้งวิเคราะห์คือการขยายความว่า เปรต-เหมือนหมู, เปรต-
มีหัวเหมือนหมู หรือ หัวของเปรต เหมือนหัวของหมู ในภาษาไทยมม
คำว่า หมิหิม นกแค่แมว ลูกเศรษฐี ไปบ้าน ดั่งนี้เป็นต้น การเรียน
รู้ว่ำไหน เป็นสมาสและเป็นสมาสอะไร ซ่อนความหมายอะไรไว้
สำหรับตัชชิงใช้เป็นข้อย่อท้ายศัพท์ แทนกรยาหรือนามนั้นแต่
ในภาษาบาลีและภาษาไทยที่ใช้รฐและปัจจัย สำหรับแปลความหมายของ
ศัพท์ สำหรับภาษาไทยไม่มีปัจจัย แม้มีจะใช้ก็เพราะติดมาจากภาษเดิม
ภาษาไทยว่า ชาวสาม คำว่า'ชาว' ใช้จ้อนไต่ที่นั่นนลงเทน
เป็นวิธีย่อคำด้วยปัจจัย มีใช้มากในภาษาบาลี นะฉัน จงศึกษาตา
ให้รู้ ทั้งชื่อและวิธีสระยาย คือ วิเคราะห์ วิจารณ์
พระอมรมุณี (จัน จิตสมโม ป.ช.6) วัดโสมาภิรวาร รับบัตร
อภิบาลสมาส และ พระมหากัณ ปิยทรัสี ป.ช.8 วัดบรมวิเวก อธิษฐานติทำให้ความรู้สองอย่างนี้ข้างจึงนงเป็นบทยานีแห่งคุณครู
ผู้ศึกษาอาชีตามคควร จนมึงอวนโมกันในบุคคลกรรมนี้ด้วย.
พระอมรภักดี
มหามุณาวิลัย
๒ สิงหาคม ๒๕๔๘
๑. ปัจจุบันเป็น สมจิพระวันรัต