ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อธิบายบทไว้อานาจิสและคติชิต - หน้า 56
แบบของพระอมรภิรติ (เกิด) วัดบรมวาส
[ อำานาจ ณ ปัจฉิมและปัจฉิมเนื่องด้วย ณ ]
ได้พูดไว้แล้วว่า ตัณหา มีปัญญาเป็นหลัก พึงงานเรื่องของ
ปัญญาเสียก่อน ปัจจยานเนื่องด้วย ณ อย่างหนึ่ง เนื่องด้วยพยัญชนะ
อื่นอย่างหนึ่ง ที่เนื่องด้วย ณ เมื่อลงไปแล้ว ณ นั้นต้องลบทั้งเสีย
ไม่ปรากฏเลย แต่ให้ฟังสังเกตอย่างนี้ คือถ้าถามใดมิสะระเป็นบรรสะ
มีพยัญชนะสังกจ คือ สตฺถกที่ไม่ออกเสียอยู่ข้างหลัง เช่น กุจจะ
โมคุลลิสึ ทุกข์ เป็นต้น หรือที่เป็นสะระที่มอยู่แล้ว เช่น โรหินี นาวา
สาวุตติ ดังนี้ ณ ปัจจัยไม่มีอำนาจอะไร ต้องลบทั้งเสีย เหลือไว้แต่
สระที่ ณ อาคะห์ และสระของศัพท์ที่ลง ก็ต้องถูกลบด้วย แล้วเอา
สระที่ ณ คำศัพท์ไปลงไว้ที่ศัพท์นั้น เช่น กุจจะ ศัพท์ ลง นาน ปัจจัย
ต้องลบ ณ เสีย เหลือแต่-นะ ไปต่อเข้าปัน กุจจโน หรือ นาวา ศัพท์ Δ ลง อีก ปัจจัย ก็ใหลบ ณ เสีย เหลือไว้แต่-ก แล้วลบสระ-- ที่ นาวา
เสีย-ก ไม่มี่อาคะห์ต้องเอาไปลิดไว้กับ นาวา จึงเป็น นาวิโก แม่ศัพท์
อื่น ๆ เช่นกัน
ถ้าหากศัพท์นั้นมีสระเป็นบรรสะล้น ไม่มีพยัญชนะสังโยคอยู่
เนื่องหลัง ด้วยอานาของ ณ นั้นเอง บังคับให้ พยัญธิ คือ ทิละ
อย่างหนึ่ง วิภา คือทำให้ครูปเดิมอย่างหนึ่ง ทิละ นั้น คือ
สระสั้นให้ยาว เช่น อ ทมะให้เป็น อา อ, o ให้เป็น ออ, o ให้เป็น ออ, วิภานั้น เช่น อ วิภา ให้เป็น อo, อุ ให้เป็น โอ บางทีเออ โอ