ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อธิบายบาลีไว้อยากนี้ สมและตัชฌิต - หน้า 12
หลังเป็นประธาน เวลเข้ามาสแล้ว อิติสพทีนท่านลบเสีย ยังคงเหลือ
แต่ 2 บาท ซึ่งอาจเข้าไปในความเป็นสมอันอื่น เช่นสมาธิปราสะหรือ
วันทนาได้ แต่มีข้อสังเกตอยู่อย่าง เช่นสมนี้ บทหลัง
อันเป็นประธานนั่น ท่านมักใช้พิพทธ์ซึ่งในทางสมรพันธ์จะได้สรูปฉบับ
เข้าใจ เช่นศพว่า สมมุติ วงษ์ มาโน สัญญา เป็นต้น อันละเชื่อม
อิติสพทีเข้าได้สนิท ดังภาษาไทยว่า สมมิวว่า ... คำว่า ... ความ
สำคัญว่า... ความรู้ว่า...เป็นต้น เมื่อเห็นบทหลังในสมานั้นแล้ว
พึงพิจารณาหน้าจะเขียนคำว่า "ว่า" คือ อิติสนั้นให้หรือไม่ ถ้าเห็น
ว่เข้ากันได้แล้ว พึงเข้าใจเดียวสมานนี้เป็นสมภาวนุพบพน
ดังตัวอย่างที่นานแสดงไว้ว่า ขฏิติยะ (อหิ) อิติมา-ขฏิตยมาน
มานว่า (เราเป็น) กฐิริ์ แต่งบางครั้งอาจเปลี่ยนรูปไปเป็น
ดักปุรสะได้ การที่จะเปล่อย่าได้ โดยวิธีของสมาสไหน จะเหมาะ
นั่น และแต่ผู้ศิษยะจะคิดแปลให้เข้ารูปกับประโยคนี้ ๆ เมื่อได้
ความชัดเจนเป็นอันไม่ผัดหลีกสมานเลย.
๒. อธาราณุปพน
อธาราณุปพนนี้ ย่อมามาเข้าด้วยกัน ในเมื่อนาม
นั้นเป็นชื่อเรียกแทนกันได้ หรือว่ามีค่าน้ำกั้นกัน ท่านประกอบ เอว
ศัพทกับบทหน้า เพื่อห้ามเนื้อความอื่นเสื่อว่า ไม่ใช่สิ่งอื่น ท่านให้
แปล เอวศัพท์ว่า คือ เช่นแสงสว่างคือปัญญา ไม่ได้หมายเอาแสงสว่าง
อื่น หมายเอาแสงสว่างคือปัญญา ต้องตั้งวิเคราะห์ว่า ปัญญา เอว