อธิบายวิถีกฤษฏิ์ - หน้า 76 อธิบายบาลีไวยากรณ์ สมาสและตัทธิต หน้า 77
หน้าที่ 77 / 94

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้อธิบายเกี่ยวกับวิถีของกฤษฏิ์และการใช้ศัพท์ต่างๆ รวมถึงปัจจัย เช่น วนุต และ มนุต ที่สำคัญในภาษา นอกจากนี้ยังกล่าวถึงการแบ่งอายสมุตตามลักษณะและบทบาทของคำในภาษากฤษฏิ์ โดยให้ความสำคัญกับการแสดงความหมายของศัพท์ผ่านการใช้ปัจจัยต่างๆ เพื่อช่วยในการทำความเข้าใจและการเรียนรู้ภาษานี้.

หัวข้อประเด็น

-วิถีกฤษฏิ์
-ศัพท์ในภาษากฤษฏิ์
-ปัจจัยในภาษา
-การแบ่งอายสมุต
-การใช้ในบทเรียน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายวิถีกฤษฏิ์ - หน้า 76 ปุ่ง อิด. นปุ. ตปลิ ตปลิ้น ตปลิ มิตปะ. ส่วนศัพท์ที่ลง วนุต มนุต ปัจจัย ก็ให้แตกตามแบบของตนฯ. ปุ่ง อิด. นปุ. วนุต ปัจจ. คุณวา คุณวดี คุณวา มีคุณ. มนุต ปัจจ. ชูสม คูมมิศติ ชูมมิ มีความโพลง. ส่วน อายสมุต ก็แบ่งได้ทั้ง 3 ลักษณะเหมือนกัน แต่ใน อิด. นปุ. ไม่มีช. ใน อิด. ใช้ อบย ศพัทแทน. ปกติทัชติ ลักษณ์นี้มี มน ปัจจัยตัวเดียว ใช้ลงแทน ปกต ศัพท์ ซึ่งแปลว่า ว่า กระทำแล้ว คือหมายความว่า สำเร็จ อย่างหนึ่งใช้ลงแทน วิภาร ศัพท์ ซึ่งแปลว่า เป็นวิกา หรือการทำให้เปล่า อันแสดงถึงวัตถุ ผสมกัน ให้วดดอีกอย่างหนึ่งแปลกไปจากเดิม และ มน ปัจนี้ มักนิยมลงในวัตถุเครื่องใช้สอย คือทัพสัมภาระต่างอย่างนั้นเอง. อึ่ง คำว่า วิการ ที่แปลว่า เป็นวิกา ก็ถือเป็นเครื่องแสดง ของคำว่า กระทำแล้วแปลทันนี้ เพราะฉะนั้น จึงใช้ มย แทนได้ ทั้ง 2 ศัพท์ เช่น ว.ว่า สุวรรณเณน ปกติ โอสถานุมัย (ภาษนะ ภาษนะ (อุป.) ทำ แล้ว ด้วยทองคำ. สุวรรณสุข วิภา โอสถานุมัย ภาษนะเป็นวิกาแห่งทองคำ. ที่เป็น โอสถานุมัย นั้น แปลลง อุ เป็น โอ ให้เพราะตาม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More