บาลีไวราณี: ความเข้าใจและการใช้ อธิบายบาลีไวยากรณ์ สมาสและตัทธิต หน้า 36
หน้าที่ 36 / 94

สรุปเนื้อหา

บทความนี้ชี้แจงเกี่ยวกับการใช้ศัพท์ในบาลีไวราณี โดยเน้นที่การวิเคราะห์วิกัดติและการใช้ของ ย ศัพท์ และ ด ศัพท์ ในด้านพุทธพินัย รวมถึงการกำหนดว่าวิกัดติใดมีความหมายแตกต่างกันอย่างไร การเข้าใจความสัมพันธ์ของศัพท์เหล่านี้สำคัญต่อการสื่อสารในทางพุทธศาสนาอย่างถูกต้อง นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงบทปลงในพุทธพิสาสนาที่สามารถช่วยให้เข้าใจลักษณะและการใช้งานได้ดีขึ้น เรียนรู้และนำความรู้เหล่านี้ไปใช้ในชีวิตประจำวันหรือในการศึกษาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาเกี่ยวกับบาลีไวราณี
-การใช้ศัพท์ในพุทธพินัย
-การวิเคราะห์วิกัดติ
-ความสัมพันธ์ของ ย ศัพท์ และ ด ศัพท์
-บทปลงในพุทธพิสาสน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบาลีไวราณี สมาคมและตำรับ - หน้าที่ 35 วิกัดติใด วิกัดนันก็เป็นชื่อของพุทธพินัย เช่น ย ศัพท์ประกอบด้วยทุติย- วิกัดติ ก็เรียกว่าดิยาทพุทธพินัย ย ศัพท์ประกอบด้วยตติย- วิกัดติ ก็เรียกว่าดิยาทพุทธพินัย ย ศัพท์ประกอบด้วยตติยาวิกัดติ ก็เรียก ว่าสัตว์มีพุทธพินัย ฉนึ่ง ย ศัพท์ เป็นวิสาสะพนามอาจแจกได้ทั้ง ๓ ลิงค์ เหมือน กับกับ ย ศัพท์ เพราะฉะนั้น จึงควรกำหนดไว้ให้แน่น่านว่า ย ศัพท์ กับ ด ศัพท์นั้นใช้คนานามนามตัวเดียวกัน คือ ถ้า ย ศัพท์โฆณามนาม บทใด คำพี่โฆณามนามบทนั้น จะต่างกันก็วิกัดติเท่านั้น เพราะ ย ศัพท์ประกอบด้วยวิกัดติอื่นนอกจากปรุงวิกัดติ มีฤทธิวิกัดติเป็น- ดนจนถึงสัตว์มีวิกัดติ ส่วน ย ศัพท์ คงประกอบด้วยปฐมวิกัดติสมอ ไป ส่วนวนะและลิงค์ต้องให้สมอตั้งทั้ง ย และ ด เป็นไปแบบบกล ไวยการณตอนนี้ ทั้ง ย ทั้ง ด ประกอบด้วยปฐมาวิกัดติ 2 ในประโยค ๓ ก็รียแต่ ฐ ศัพท์ประกอบด้วยปฐมาวิกัดติ (คือ โส) และเทปลง ซึ่งเป็นนามสะแท่นนั่น เพราะฉะนั้น ประโยค ๓ จึงมีเนพเฉพาะแต่ ฐ ศัพท์ที่ประกอบด้วยปฐมาวิกัดติ และเทปลง รวม 2 บทเท่านั้น ฉนึ่ง บทปลงที่เป็นพุทธพิสาสนนี้เป็นสมาคมคุณ จะนั่งจึงต้อง นามนามบมนอื่นมาเป็นประธาน บทนามนามนี้นำมาใช้เป็นประธาน นี้ สังคัญเหมือนกัน เพราะเป็นหลักที่จะให้ใช้บทปลงแสดงลักษณะ ได้ถูกต้อง ดังนั้น เม่อพบ ฐ ศัพท์หรือบทปลง เป็นลงติ จวนจะ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More