ข้อความต้นฉบับในหน้า
แนวคิดในการสร้างปัญญา
แนวความคิดในการสร้างปัญญามาจากชาติศักดิ์สิทธิ์ที่กล่าวถึงการสร้างปัญญาบารมีของพระโพธิสัตว์ จำนวน 4 เรื่องและพระสูตรส่วนหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการสร้างปัญญาบารมี
ความเข้าใจของคนส่วนมาก จะคิดว่าทศชาติชาดก เป็น 10 พระชาติ สุดท้ายของพระโพธิสัตว์ ก่อนที่จะสถรรธรรมเป็นพระสมณโคดมพุทธเจ้า ซึ่งก็ไม่มีที่ใดระบุเรื่องระยะเวลานั้น และเป็น 10 พระชาติที่เต็มบารมี 30 ทัศให้เต็ม ซึ่งเข้าใจว่าทั้ง 10 พระชาติสุดท้ายนี้ จัดเป็นปมิตบารมีทั้งหมดแต่เมื่อศึกษาเข้า จึงมีความเข้าใจเพิ่มขึ้นว่า ทศชาติชาดกเป็นการเรียงตามพระกถา ถ้ามากกว่า 100 พระกถา ก็จัดเป็นมหาบารมี ซึ่งมี 10 ชาติ หรือ ทศชาติชาดกนั้นเอง โดยใช้คำวา่า เต. ช. ส. เน. ม. ภู. จ. นา. วิ. ไว.
การจำแนกบารมีของทธชาดก
ชั้นบารมีธรรมดมี 1 เรื่อง ได้แก่ สุวรรณสามชาติ (สุ.เมตตามารม), ชั้นอปรมมี 4 เรื่อง ได้แก่ เวสสนคราชาดกา (ว. ทานบารม), ภูติชาติาด (ภู. ศัลยาบารม), มโลพชาติ (ม. ปัญญาบารม), วิริหชาดา (ว. ในนครชาติ จัดเป็นอจรบารมี - แต่ทรงปรารถนาพระปัญญา)
ชั้นปรมดีบมี 2 เรื่อง คือ มหาชนกชาดกา (ช. วิริยบารม), เตมียชาดกา (เต. ไนทศาชาติ จัดเป็น นกขิมบารมี, ใกลโรมานกาลจัดเป็นอธิฐานบรมบารมี). ที่ไม่จัดเป็นทั้ง 3 ประเภท มี 3 เรื่อง คือ เนมิราชชาดกา (เน. อธิษฐานบารม), จันทกุฎบารมี (จ. ขันติบารม), มหานารกัสปชาดกา (นา. อัญญาขบารมี).
..........................................................................................................
บุคคลซึ่งเป็นบัณฑิต หรือละทิ้งความดีงามต่างๆ เพื่อให้ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณเป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตกาล