ปัญญาบารมีและการสร้างปัญญา ปัญญาบารมี หนทางสร้างปัญญา หน้า 60
หน้าที่ 60 / 144

สรุปเนื้อหา

เรื่องนี้นำเสนอการใช้ปัญญาของพระมโหสถบัณฑิตในการแก้ปัญหาที่เกิดจากการทะเลาะกันของหญิงสองคนเกี่ยวกับเครื่องประดับสวยงาม โดยเรื่องมุ่งเน้นไปที่การวิเคราะห์และวิจารณ์สถานการณ์ เพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหานั้น พร้อมกับการแสดงให้เห็นถึงการใช้พฤติกรรมและความคิดที่ถูกต้องในสถานการณ์ที่ขัดแย้ง. นอกจากนี้ยังเน้นความสำคัญของปัญญาและวิธีการประเมินสถานการณ์อย่างมีสติในการตัดสินใจ ว่าเครื่องประดับนั้นมีค่าอย่างไรต่อเจ้าของและผู้ชมในสังคม. การเล่าถึงมโหสถบัณฑิตแสดงถึงความเฉลียวฉลาดและความเข้าใจต่อมนุษย์ที่จับต้องได้.

หัวข้อประเด็น

-ปัญญาบารมี
-การแก้ไขปัญหา
-บทบาทของพระมโหสถบัณฑิต
-การวิเคราะห์สถานการณ์
-ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ปัญญาบารมีก หนทางการสร้างปัญญา ๓. พระมโหสถบันฑิต ทรงแก้ปัญหาหัวข้อว่า "เครื่องประดับทำเป็นปล้อง ฯ" (สัพพสังหารปัญหา ว่าด้วยการพูดของหญิง ๒ ประเภท) มีความว่า ยังมีหญิงเจ็บใจคนหนึ่ง เปลืองเครื่องประดับทำเป็นปล้อง ถังด้วย ด้ายสีต่าง ๆ จากอกวางไว้บนผ้าสาฆาฎ ลงสู่สระโบกขรณีที่โโลสถ บันฑิตให้ทำไว้ เพื่ออาบน้ำ. หญิงรุ่นสาวคนหนึ่งเห็นเครื่องประดับนั้นเกิดความโลก หยิบเครื่องประดับขึ้นชมว่า เครื่องประดับนี้งามเหลือเกิน. แก้ท่าทำค่าเท่าไหร่ แม้ฉันก็จักทำรูปเหล่านี้ ตามควรแก่ศิลปะของตน. กล่าวชมฉะนี้แล้ว ประดับที่ตน แล้วกล่าวว่า ฉันจะพิจารณาประมาณของเครื่องประดับนั้นก่อน. หญิงเจ้าของกล่าวว่า จงพิจารณาดูเดัด เจ้าของเป็นแม่นมมีจิตชื่อตรง หญิงรุ่นสาวประดับที่ตน แล้วหลีกไป. ฝ่ายหญิงเจ้าของเห็นดังนั้น ก็รีบขึ้นจากโบกขรณี นุ่งผ้าสาฆาฎ แล้วว่ายตามไป ยิ่งปัดผ้าใกกล่าวว่า เองจักถือเอาเครื่องประดับของข้า หนีไปไหน. ฝ่ายหญิงโมยกล่าวตอบว่า ช้าไม่ได้เอาของของแก เครื่องประดับของข้าต่างหาก. มหาชนชุมนุมฟังวิจารณ์กัน. ฝ่ายมโหสถบันฑิตเล่นอยู่กับหลทารก ได้ฟังเสียงหญิงสองคนนั้นทะเลาะกันไปทางประตูตาล ถามว่า นั่นเสียงอะไร. ได้ฟังเหตุที่หญิงสองคนทะเลาะกันแล้ว จึงให้เรียกเข้ามา. แม้รูู้โดยอาการว่า หญิงนี้เป็นชไม หญิงนี้ใช่โมย. ก็สามารถเนื้อความนั้นแล้วกล่าวว่า แก่งสองจังกงอยู่ในวิฉฉันยของข้าหรือ เมื่อหญิงทั้งสองรับว่า จังกงอยู่ในวิฉฉัน. จึงถามหญิงโมยก่อนว่า แกย่อมเครื่องประดับนี้ด้วยของห่ออะไร. หญิงจงโมยตอบว่า ข้าพเจ้ายอมด้วยของหอมทุกอย่าง ของหอมที่ทําประกอบด้วยของหอมทั้งปวง ชื่อว่าของหอมทุกอย่าง. ลำดับนั้น มโหสถบัณฑิตจึงถามหญิงเจ้าของ นางตอบว่า เพราะข้าพเจ้าเป็นคนเชื้อใจ ของหอมทุกอย่างจะมีแต่ไหน ข้าพเจ้าย้อมด้วยของหอม คือตอบประปง์เท่านั้นเป็นติยะ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More