ข้อความต้นฉบับในหน้า
แนวคิดในการสร้างปัญญา
๑) นิสัยรอบรู้ทำให้การพิจารณาดัดสิ่งมีความเป็นธรรม แก่นทุกชั้น
๒) นิสัยมีสัจจะ เที่ยงตรงในการวินิจฉัย ดังที่ปุณณกยักกล่าวว่าสรรเสริญ ธรรมบัณฑิตว่า เกียรติศัพท์ของท่านได้ปรากฏไปในสากลโลกว่า ท่านตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่พูดเท็จแม่เพราะเหตุแห่งชีวิตเช่นนี้
๓) นิสัยไม่ครั่นคร้ามในมรณภัยที่มีอยู่เฉพาะหน้า แต่ใช้ปัญญาไตรตรองหาเหตุผลที่ปุณณกยักจะมาถน ภาวะที่ท่านเป็นมัณฑิตเป็นผู้สามารถในอัฏค้นคว้าหาเหตุที่ตั้งและเกิดขึ้นได้ นึกหาหนทางสอนธรรมแก้กษให้จิตใจอ่อนโยนก่อนแล้วคิดว่าเราพึงพรรณนาสถานธรรมยังปุณณกยักให้บรรลุชีวิตคืนแก่เรานำเสนอธรรมแก่ปุณณกยักด้วยพุทธลีลา (ข้อ ๑ - ๔ มาจากข้อคิด วีรชาดก, น.๓๔)
๔) นิสัยรักษาศีล รักษาใจอยู่เสมอ จึงมีจิตใจบางสิ่งวางไว้ จิไม่วุ่นวาย จิตไม่มัวหมอง ใจใส ใจหยุด จึงเป็นที่มาของปัญญาที่สมบูรณ์ (ข้อ ๕ มาจากข้อคิด สัมภาวชาดก, น.๕๘)
บ) นิสัยช่างคิด มีจินตนาการในวัยเด็ก
๗) นิสัยช่างสังเกตวิเคราะห์หาสาเหตุ มีสติปัญญา สามารถคาดการณ์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ จนสามารถวินิจฉัยถึงความต่าง ๆ ในวัยเด็ก
๘) นิสัยให้อภัย ไม่คิดแก้แค้น
๙) นิสัยซื่อสัตย์ มีความจงรักภักดีต่อเจ้าของของตน จึงต้องหาหนทางช่วยเหลือผู้เป็นนายด้วยสติปัญญาของตนเอง
๑๐) นิสัยรักษาสัจจะ เมื่อรับปากพระเจ้าจุลเอ็งแล้วก็ทำตามที่รับปากไว้ (คล้ายข้อ ๓)
๑๑) นิสัยมองการณ์ไกลในการรักษาบ้านเมืองให้รอดพ้นจากการทำ ศึกสงคราม (ข้อ ๖ - ๑๑ มาจากข้อดี มโหราศาสตร์, น.๑৬)