ข้อความต้นฉบับในหน้า
ปัญญาบารมี หนทางการสร้างปัญญา
๑๐๕
ดูนี้ ด้วยการทูลถามปัญหาว่า ถ้างั 7 คือ พระเจ้าจุลดิ่น พระราชาชนนี้
พระเมธี พระอนุชาพ พระสหายธนบูรณ์ อาจารย์เกวฺรฺดิว และโฬส ไปพบ
ผีเสื้อข่า แล้วพระองค์ต้องพระราชทานคน ๓ คน ให้เสื้อกัน จะพระราชทาน
ใครตามลำดับ พระเจ้าจุลดิ่นตอบว่า ๑. พระราชชนี ๒. พระเมธีสี
๓. พระอนุชา ๔. ธนเสฎ ๕. เกวฺรฺา และ ๖. พระองค์เอง ส่วนโฬสจะรักษา
ด้วยชีวิต เพราะคนอื่น ๆ ยังมีข้อควรตำหนิ แต่มโสลเป็นนักปราชญ์
ไม่รงเห็นความผิด ความชั่วไฺ ๒ ของมโสล ถึงพระองค์สิ้นพระชนม์ไป
มโสลก็ดูแลบ้านเมืองต่อไป (ทุกรทุกสดก ว่าด้วยผีเสื้อกันน้ำ)
เมื่อทราบแน่ชัดแล้ว พระแม่กรีฎิว่า เกีรติคุณของมโสลบดันติด
ปรากฏเพียงเท่านี้ ยังไม่เพียงพอ เราจักกระทำเกียรติคุณของมโสลบดัน
ให้ปรากฏในท่ามกลางชาวเมืองทั้งสิ้นที่เดียว ให้เป็นประหนึ่งว่าดำน้ำมัน
ลงบนผิวแม่ค้านำแผ่ขยายไปใน นั้น คิดซะแล้วถึงจะทูลเชิญพระเจ้าจุลดิ่นจาก
ปราสาทให้ปลาดอาสนะที่พระลานหลวงนั่งบนอาสนะนั้นแล้ว ประกาศให้
ชาวเมืองมาประชุมกัน แล้วทูลพระเจ้าจุลดิ่นถึงปัญหาผีเสื้อกันน้ำตั้งแต่ต้นอีก
ในเวลาที่พระเจ้าจุลดิ่นตรัสโดยยู ที่ตรัสมาแล้ว นางนงรีภิไธกะได้กล่าว
ประกาศแก่ชาวเมืองว่า “ชาวปัญจาจจะทั้งหลาย ท่านทั้งหลายฟัง พระดำรัส
ของพระเจ้าจุลดิ่นนี้ พระองค์ทรงปกป้องมโสลบดัน สละพระชนม์สิขอสงส
ได้ยาก พระเจ้าปัญจาจารงสละชีวิตของพระองค์นี้ พระเมธี พระนิษฐา
พระสหาย และพราหมณ์เกวฺรฺดิว และแม้ของพระองค์เอง เป็น ๖ คนด้วยกัน
ปัญญามีประโยชน์ใหญ่หลวงเป็นสิ่งละเอียดยุบเป็นเหตุให้คนเรามีความคิด
ในทางที่ดี ย่อมมีเพื่อประโยชน์เกื้อกูลในปัจจุบันและเพื่อความสุข
ในภายหน้า ด้วยประการฉะนี้”
ในยามนั้นปลายชีวิต ท่านมหาบัณฑิตยังกำดำรงตำแหน่งเสนาบดี
แห่งอุตรปัญจาณคร สร้างสมคุณงามความดีอย่างมากมายสุดที่จะพรรณา
ได้หมดสิ้น ท่านมีความสุขเกษมสำราญ ในราชสำนักของพระเจ้าจุลดิ่นตลอด
เรื่อยมา จนตราบถึงกาลอาสะนแห่งชีวิต