ความหมายของการบวชในพระพุทธศาสนา บางสิ่งที่แสวงหา หน้า 27
หน้าที่ 27 / 218

สรุปเนื้อหา

การบวชในพระพุทธศาสนาเป็นการสร้างบุญที่มีผลต่อชีวิต โดยช่วยให้ผู้ที่บวชได้เข้าถึงธรรมและมีความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ชีวิตที่ถูกต้อง ผู้บวชไม่เพียงแต่ได้รับประโยชน์ส่วนตน แต่ยังส่งผลดีต่อโยมพ่อโยมแม่ที่ได้รับเกียรติให้เป็นญาติของพระศาสนา การบวชถือเป็นการยกย่องจากเทวดาและสามารถนำมาสู่นี้ด้วยงานที่เชื่อมโยงกับการฟังธรรมจากพระสัมพุทธเจ้า ทำให้ผู้บวชได้เรียนรู้บทเรียนชีวิตในทุกด้านจากสังสารวัฏ มหามกุฎราชวิทยาลัยยังได้กล่าวถึงความสำคัญในแง่ของการเป็นญาติของพระพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-การบวชในพระพุทธศาสนา
-คุณค่าของชีวิตนักบวช
-ความเคารพต่อโยมพ่อโยมแม่
-การสร้างบุญจากการบวช
-การฟังธรรมและรัศมีของพุทธเจ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เวลาในพรรษายิ่งไปอีกสักล้านปี ความรู้สึกเราเป็นอย่างนั้นเลย เมื่อเราเข้าสู่จุดตรงนั้น เพราะฉะนั้น ใครได้บวช ควรจะปิติเกษฎ์และภาคภูมิใจว่าเรามีบุญมาก ได้อยู่ในเทพเดียวกับพระสัมสัมพุทธเจ๋ซึ่งเป็นเทพอัปสรัญ พระองค์ผ่านชีวิตมากทุกระดับแล้วในสังสารวัฏ แล้วก็สรุปบทเรียนของชีวิตว่า ชีวิตนักบวชเป็นชีวิตที่ดีที่สุด ถูกต้องที่สุด ชีวิตที่ไม่ใช่นักบวชยังไม่ถูกต้อง ยังไปติดทะโหลกกลา จะรู้ว่าถูกต้องเมื่อเราได้เข้าสงค์พระภายในนั้นแหละ จะเข้าใจตรงนี้ได้อย่างดี แล้วจะปลื้ม บุญนี้จะเกิดขึ้นกับเรา กับโยมพ่อโยมแม่ เท่ากับจงโยมพ่อโยมแม่เข้ามาเป็นญาติของพระพุทธศาสนา ⓣ บุญบวชช่วยพูดโยมพ่อโยมแม่ เมื่อเราบวช โยมพ่อโยมแม่ก็จะได้ชื่อว่า เป็นญาติของพระศาสนา คำว่า เป็นญาติของพระพุทธศาสนา นี้สำคัญนะ แม้ดีตก็ยันที่เคยเป็นมาราคา ของสามเณรสนามในชาติก่อน ๆ โน้น ยังได้รับการยกย่องจากเทวดาผู้ศักดิ์ใหญ่ที่มีบุญมาก รัศมีมาก ทั้ง ๆ ที่ต้องเป็นยันติณี และเป็นยันต์ชั้นล่าง ด้วย ยังได้รับเกียรติเยือนหลากทางให้ เวลาจะมาฟังธรรมจากพระสัมพุทธเจ้า ซึ่งปกติจะต้องเรียงกันตามลำดับบุญ มีรัศมีมากก็จะอยู่ใกล้ ๆ พระสัมพุทธเจ้า รัศมีลดน้อยถอยลงก็อยู่ต่ำ ๆ ไป * มหามกุฎราชวิทยาลัย, “เรื่องสนามสนามเอ” พระสูตร และอรรถภาพแปล ญุททุกกถาย คาถาธรรมบท เล่ม ๓, พิมพ์ครั้งที่ ๔ (กรุงเทพฯ: มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๓๓) ข้อ ๒๒๖, หน้า ๒๔๕–๒๔๑
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More