การทำใจให้ว่างเพื่อความสบาย บางสิ่งที่แสวงหา หน้า 214
หน้าที่ 214 / 218

สรุปเนื้อหา

การทำใจให้ว่างเป็นวิธีที่ช่วยให้จิตใจปลอดโปร่ง สบาย โดยการนึกว่าเราอยู่คนเดียวในโลก ไม่มีพันธะใด ๆ และอารมณ์ที่เกิดขึ้นจะเป็นอุทุมสุข ช่วยให้เรารักษาใจให้เป็นกลาง มีความรู้สึกพึงพอใจและความสบายที่ไม่เร่งรีบ ซึ่งเป็นรากฐานของการปฏิบัติธรรมตามแนวทางของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดูเพิ่มเติมที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การทำใจให้สงบ
-อุทุมสุข
-ปฏิบัติธรรม
-การปล่อยวางความผูกพัน
-การนั่งภาวนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธัมมนัสติ สงฆมนัสติ เป็นต้น คือถ้าใจคิดอย่างนั้นแล้วอารมณ์สบายปลอดโปร่ง นั่นเป็นวิธีการหนึ่ง บางท่านอาจกล่าวถึงธรรมชาติมาให้อารมณ์รู้สึกสบาย ปลอดโปร่ง มีอารมณ์อยากจะนั่งทำภาวนา อยากจะทำให้หยุดนิ่ง อย่างนี้ก็มี แต่วิธีดีที่สุดคือ ทำใจให้ว่าง ๆ นิ่งเฉย ๆ ทำตัวประหนึ่งว่า เราอยู่คนเดียวในโลก ไม่มีพันธะผูกพันกับเรื่องใด ๆ ทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการศึกษาเล่าเรียน เรื่องครอบครัว เรื่องธุรกิจการงาน หรือเรื่องอะไรเทอะแห่งจากนี้ ทำเป็นเหมือนว่าเราอยู่คนเดียวในโลกจริง ๆ หรือสมมติตัวเราอยู่กลางอากาศโล่ง ๆ ไม่มีสรรพสัตว์สรรพสิ่ง คน สัตว์ สิ่งของไม่มี อย่างนี้เป็นทางลัดที่จะทำให้ใจเราปลอดโปร่งสบาย คำว่า “สบาย” ของหลวงพ่อในนี้คือ สบายเบื้องต้นก็คือ รู้สึกเฉย ๆ ภาษาธรรมเขาเรียกว่า อุทุมสุข (อะ-ทุ-ทุ-ขะ-มะ-สุข) คือ จะเรียกว่าถูกใจไม่เชิง ทุกข์ก็ไม่ใช่ ในเบื้องต้นมันอยู่ในสภาพที่เฉย ๆ แล้วเราก็หาใจว่าง ๆ เหมือนอย่างที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าสอนว่า ให้องค์โลกนี้ให้ว่างเปล่า ไม่มีคน ไม่มีสัตว์ ไม่มีสิ่งของ ใว้ ๆ นิ่ง ๆ นี้คือความหมายของคำว่า “สบาย” ของหลวงพ่อในเบื้องต้น แล้วเราก็อดูดนี้แหละ จุดที่เรารักษาใจให้เป็นกลาง ๆ ว่าง ๆ โลง ๆ นิ่ง ๆ เฉย ๆ ถ้าเรารักษาอารมณ์นี้ให้สัมมาเสมอ ด้วยใจที่เย็น ไม่เร่งร้อน เร่งรีบ ประคองอารมณ์นี้ต่อไปเรื่อย ๆ ในตำแหน่งที่ใจเราตั้งมันแล้วรู้สึกว่า สบาย ปลอดโปร่ง มีความรู้สึกพึงพอใจกับอารมณ์นี้ดี ความรู้สึกชนิดนี้ ไม่ช้า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More