คุณธรรมและความดีงามในพระพุทธศาสนา ชีวิตสมณะ (ฉบับมหาปวารณา) หน้า 103
หน้าที่ 103 / 407

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงคุณธรรมและความดีงามที่มีต่อกัน ซึ่งเป็นเหตุให้พระภิกษุสามารถฝึกฝนอบรมตนเองให้เจริญรุ่งเรืองในพระธรรมวินัยของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้อย่างรวดเร็ว โดยยกตัวอย่างของขุมทรัพย์จากการปวารณาเป็นการส่งเสริมการพัฒนาตนอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังระบุถึงความสำคัญของนาบุญในพระพุทธศาสนาซึ่งเป็นแหล่งที่มาของความดีงามและความเจริญรุ่งเรืองในสังคม

หัวข้อประเด็น

-คุณธรรมในพระพุทธศาสนา
-ความดีงามในชีวิต
-บทบาทของพระภิกษุในการฝึกจิตใจ
-การอบรมตนในพระธรรมวินัย
-นาบุญและความสะอาดหมดจด

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คุณธรรมความดีงามให้แก่กัน ทั้งนี้เพื่อความสะอาดหมดจดแห่ง พรหมจรรย์ และเพื่อความสำรวมระวังทั้งกายวาจาใจ สืบไป ขุมทรัพย์จากการปวารณา จึงเป็นเหตุเกื้อกูลให้พระภิกษุสามารถ ฝึกฝนอบรมตนเองให้เจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าในพระธรรมวินัยของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้อย่างรวดเร็ว สมกับที่ได้ชื่อว่าเป็นอายุ ของพระพุทธศาสนา และเป็นนาบุญอันประเสริฐของโลก ไม่มี นาบุญอื่นยิ่งกว่า @ ที่มา: มหามกุฏราชวิทยาลัย. (๒๕๒๕), พระวินัยปิฎกและอรรถกถาแปล เล่มที่ ๖. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย. (๒๕๒๕), พระสูตรและอรรถกถาแปล เล่มที่ ๑๘, ๒๕, ๗๓, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๒), พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๖. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ: บริษัทนานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่น จำกัด. ๒๒ ชี วิ ต ส ม ณ ะ (ฉบับมหาปวารณา) www.kalyanamitra.org
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More