บทกวีเกี่ยวกับความทุกข์และความยากลำบากในชีวิต คาถาธรรมบท ภาค ๕-๘.๑ หน้า 137
หน้าที่ 137 / 204

สรุปเนื้อหา

บทกวีนี้กล่าวถึงความทุกข์ยากของชีวิต โดยเปรียบเทียบผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งไม้เท้า กับม้าที่แก่แล้วไม่สามารถทำงานได้ ทั้งยังสะท้อนถึงการไม่มีการสนับสนุนจากลูกหลานให้มีชีวิตที่ดีกว่า มีการกล่าวถึงความหมายของไม้เท้าและความสำคัญของการมีอุปกรณ์พยุงเวลาเดิน นอกจากนี้ยังแตะถึงการตีความชีวิตที่ยากลำบากและการให้เกียรติแก่ผู้สูงอายุ

หัวข้อประเด็น

-การเปรียบเทียบชีวิต
-ความสำคัญของไม้เท้า
-การดูแลผู้สูงอายุ
-บทกวีสะท้อนสังคม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๑๙ ต้องเที่ยวขอทาน ที่เรือนของชนเหล่าอื่น เหมือนม้า ที่แก่ใช้การงานไม่ได้ ถูกเขาพรากไปจากอาหาร ฉะนั้น. นัยว่า ไม้เท้าของข้าพเจ้าแล ยังประเสริฐกว่า บุตร ทั้งหลายไม่เชื่อฟังจะประเสริฐอะไร (เพราะ) ไม้ เท้ากันโคดุก็ได้ อนึ่ง กันสุนัขก็ได้ มีไว้(ยัน)ข้างหน้า เวลามืดก็ได้ (ใช้) หยั่งลงไปในที่ลึกก็ได้ เพราะ อานุภาพแห่งไม้เท้า คนแก่เช่นข้าพเจ้า พลาด แล้วก็กลับยืนขึ้น (อีกได้) ธนปาลโก นาม กุญฺชโร กฎกปฺปเภทโน ทุนนิวารโย พทฺโธ กพฬ น ภุญฺชติ สุมรติ นาควนสุส กุญชโรติ กุญชร นามว่าธนปาลกะ ตกมันจัด ห้ามได้ยาก ถูกขังไว้ ไม่บริโภคฟ้อนหญ้า กุญชรระลึกถึง (แต่) นาควัน.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More