การไม่ดูหมิ่นลาภในพระภิกษุ คาถาธรรมบท ภาค ๕-๘.๑ หน้า 172
หน้าที่ 172 / 204

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงความสำคัญของการไม่ดูหมิ่นลาภในตัวเองของพระภิกษุ โดยชี้ให้เห็นว่าการปรารถนาในลาภของผู้อื่นจะทำให้ไม่สามารถเข้าถึงสมาธิได้ และการมีอาชีพที่หมดจดจะได้รับการสรรเสริญจากเทวดา เนื้อหายังกล่าวถึงพระลาบและการไม่ดูหมิ่นอาหารที่ได้รับการเลี้ยงชีพจากผู้อื่น.

หัวข้อประเด็น

-ลาภของพระภิกษุ
-การไม่ดูหมิ่น
-สมาธิ
-การสรรเสริญจากเทพดา
-ความสำคัญของอาชีพ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๕๔ สลาภ์ นาติมญฺเญยฺย นาญเญส์ ปิทย์ จเร อญฺเญสํ ปิทย์ ภิกขุ สมาธิ นาธิคจนติ อปปลาโภปิ เจ ภิกฺขุ สลาภ นาติมญญัติ ติ เว เทวา ปสนฺติ สุทธาชีวมตนทิตนฺติ ภิกษุไม่ควรดูหมิ่นลาภของตน ไม่ควรเที่ยว ปรารถนาลาภของผู้อื่น ภิกษุเมื่อปรารถนาลาภ ของผู้อื่น ย่อมไม่ประสบสมาธิ ถ้าภิกษุแม้เป็นผู้มี ลาภน้อย ก็ไม่ดูหมิ่นลาภของตน เทพดาทั้งหลาย ย่อมสรรเสริญภิกษุนั้นแล (ว่า) ผู้มีอาชีพหมดจด ไม่เกียจคร้าน. เรื่องปัญจาคทายกพราหมณ์ ยทคุคโต มชฺฌโต เสสโต วา ปิณฺฑ์ ลเภถ ปรทตฺตูปชีวี นานํ ถุฒิ นาปิ นิปจฺจขาที นํ วาปิ ธีรา มุนิ เวทยนตีติ ภิกษุ ผู้อาศัยอาหารที่บุคคลอื่นให้เลี้ยงชีพ ได้ก้อน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More