การจัดการกับตัณหาและวิตกในธรรม คาถาธรรมบท ภาค ๕-๘.๑ หน้า 161
หน้าที่ 161 / 204

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการจัดการกับตัณหาและวิตกในธรรม โดยยกตัวอย่างถึงผู้ที่ทำชั่วและการทำให้เกิดขยะในจิตใจซึ่งสามารถทำลายสันติสุขได้ ภิกษุผู้มีความยินดีในธรรมจะสามารถสร้างสติและความเข้าใจในสุขภาพจิตเพื่อให้ตัณหาสูญสิ้น และตัดเครื่องผูกแห่งมารได้เองโดยการเจริญอสุภฌาน

หัวข้อประเด็น

-การจัดการกับตัณหา
-ความสำคัญของสติ
-อสุภฌาน
-การตัดเครื่องผูกแห่งมาร

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๔๓ ผู้ใด จึงนำภาชนะดินไปได้ แม้ภาชนะสำริด ผู้นั้น ก็ พึงนำไปได้ หล่อนทำชั่วจน ก็จักทำชั่วอย่างนั้น แมอก. วิตกฺกม ตสฺส ชนฺตฺโน ติพฺพราคสฺส สุภานุปสฺสิโน ภิยโย ตณฺหา ปวฑฺฒติ เอส โข ทฬห์ กโรติ พนธน์ วิตกฺกูปสเม จ โย รโต อสุภ์ ภาวยตี สทา สโต เอโส โข พฺยนฺติกาหติ เอสจฺฉินฺทติ มารพนฺธนนฺติ ตัณหา ย่อมเจริญยิ่งแก่ชนผู้ถูกวิตกย่ำยี มีราคะ จัด เห็นอารมณ์ว่างาม บุคคลนั่นแล ย่อมทำ เครื่องผูกให้มั่น ส่วนภิกษุใด ยินดีในธรรมเป็นที่เข้าไประงับวิตก เจริญอสุภฌานอยู่ มีสติทุกเมื่อ ภิกษุนั่นแล จัก ทำตัณหาให้สูญสิ้นได้ ภิกษุนั้น จะตัดเครื่องผูก แห่งมารได้.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More