การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พี่เณร สอนน้อง หน้า 158
หน้าที่ 158 / 178

สรุปเนื้อหา

การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพเริ่มต้นจากการใช้ถ้อยคำที่อ่อนหวานเพื่อมัดใจคนและมุ่งเน้นการเข้าใจจุดต่างของกันและกัน การเป็นผู้ฟังที่ดีและการปรึกษาหารือจะช่วยลดความขัดแย้ง โดยต้องหลีกเลี่ยงการทะเลาะและหา 'จุดร่วม' ในการสนทนา แนวทางการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีรวมถึงการให้อภัยและการประนีประนอมเพื่อลดทิฏฐิมานะและความโกรธที่เกิดขึ้น เนื้อหาเน้นที่ความสำคัญของการรักษาสติและการควบคุมอารมณ์เพื่อรักษาความสัมพันธ์ที่ดี

หัวข้อประเด็น

-การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
-การฟังและการปรึกษาหารือ
-การควบคุมอารมณ์
-การสร้างความสัมพันธ์ที่ดี
-การให้อภัยและการประนีประนอม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

5 ค ว า ม ล่ า ย า ก ส ร้ า ง ค น จะอ่อน สามารถมัดสิ่งของได้ ฉันใด ถ้อยคำที่อ่อนหวาน ก็ สามารถมัดใจคนได้ ฉันนั้น ท่านยังสอนอีกว่า จะพูดจาอะไรต้องเป็นไปตามขั้นตอน “อย่าหักด้ามพร้าด้วยเข่า” ถ้าไม่เข้าใจกันอย่าใช้อารมณ์ ให้ เป็นผู้ฟังที่ดีมีใจหยุดนิ่ง อย่าพูดชวนทะเลาะ ให้ใช้วิธี “แลกเปลี่ยนความคิดเห็น จะได้ไม่ทะเลาะกัน จุดต่าง” “ปรึกษาหารือ” ไม่ใช่ “ปรึกษาหาเรื่อง” อย่าเอาความแตกต่างมาคุย ให้ “แสวงจุดร่วม สงวน อวดดื้อถือดี คือวิถีทางแห่งความแตกแยก อิจฉาริษยา นำมาซึ่งความร้าวฉาน สมัครสมานจริงใจ คือหนทางแก้ไข ทิฏฐิมานะต้องลดละไม่เหลือหรอ ประนีประนอม ยอมพอหยุด ก่อโทสะ ผูกโกรธโปรดลดละ ย่อมชนะใจตน นอกจากให้ธรรมทานแล้ว ยังต้องรู้จักให้ “อภัยทาน” อีก ด้วย เมื่อผู้อื่นทำให้เราบันดาลโทสะ พระเดชพระคุณหลวงพ่อ สอนให้มีสติ รีบระงับอย่าให้ลุกลาม ไม่เช่นนั้นความตึงเครียด จะระบาด ท่านบอกว่าไฟโทสะจะเผาลนจิตใจ ทำให้ใจเกรียม ไหม้ น้ำเสียงคำพูดจะหยาบผิวพรรณจะพลอยหมองคล้ำเกรียม ไปด้วย จมูกจะไม่สวย แบนโหว่เหมือนพวกยักษ์ จมูกแบนโหว่ จมูกสั้น ฟันห่าง ผิวหยาบกร้าน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More