ความดับทุกข์และการเจริญวิปัสสนา MD 305 สมาธิ 5  หน้า 69
หน้าที่ 69 / 114

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้เกี่ยวข้องกับกระบวนการดับทุกข์ในกายรูปพรหม และการพัฒนาจากสมถะไปสู่วิปัสสนา โดยอธิบายถึงลักษณะและความแตกต่างระหว่างทั้งสอง รวมถึงการจำแนกกายต่างๆ ซึ่งรวมถึงกายมนุษย์และกายพรหมละเอียด เน้นความสำคัญของการมีสมถะเป็นพื้นฐานก่อนจะก้าวสู่ระดับที่สูงขึ้นของการวิปัสสนา บทเรียนนี้เป็นทรัพย์สมบัติที่มีค่าในการศึกษาพุทธศาสนาและการเจริญสติ โดยสามารถเข้าไปศึกษาต่อได้ที่เว็บไซต์ dmc.tv เพื่อความเข้าใจที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น

หัวข้อประเด็น

- ความดับทุกข์
- กายรูปพรหม
- วิปัสสนา
- สมถะ
- พระอนาคามี
- พระอรหัต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ในกายรูปพรหม รูปพรหมละเอียด ตามความเป็นจริง ถูกลักษณะเข้า กลับเป็นพระอนาคามี เมื่อตาธรรมกายพระอนาคามี ญาณของพระอนาคามีเห็นรู้ ทุกข์สัจ สมุทัยสัจ นิโรธสัจ มรรคสัจ ในกายอรูปพรหม อรูปพรหมละเอียดหนักเข้า เห็นตามความจริง ก็จะกลับจากพระอนาคามี ทั้งหยาบและละเอียดเป็นพระอรหัต เมื่อถึงพระอรหัตต์แล้ว เป็นผู้เย็นแล้ว มีอาสวะสิ้นแล้ว กิจที่จะทำ ไม่ต้องทำแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้ไม่มีอีกแล้ว 3.3 ความแตกต่างของสมถะและวิปัสสนา วิปัสสนาเป็นขั้นสูงกว่าสมถะ พระมงคลเทพมุนีท่านแปลว่า เห็นแจ้ง” เป็นธรรมเบื้องสูง วิปัสสนาต้องอาศัยทางสมถะเป็นรากฐานก่อนจึงจะก้าวขึ้นสู่ชั้นวิปัสสนาได้ 3.3.1 สมถะและวิปัสสนาในกายต่างๆ เมื่อนักศึกษาได้ศึกษาข้อมูลมาแล้ว นักศึกษาอาจสรุปกายต่างๆ ออกได้เป็น 18 กาย และ สามารถแยกสมถะและวิปัสสนาออกได้ดังแผนผังต่อไปนี้ 1. กายมนุษย์ 2. กายมนุษย์ละเอียด 3. กายทิพย์ 4. กายทิพย์ละเอียด 5. กายพรหม 6. กายพรหมละเอียด 7. กายอรูปพรหมละเอียด 8. กายอรูปพรหมละเอียด สมถะ 2528 หน้า 6 * มูลนิธิพุทธภาวนาวิชชาธรรมกาย, ชีวประวัติ ผลงานและรวมพระธรรมเทศนา 63 กัณฑ์, กรุงเทพฯ : เทคนิค 19, 2 กัณฑ์ที่ 1 2 กัณฑ์ที่ 2 60 DOU สมาธิ 5 ห ลั ก ส ม ถ วิปัสสนากัมมัฏฐาน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More