ข้อความต้นฉบับในหน้า
สำหรับอรูปกัมมัฏฐานนี้ ใช้ได้เฉพาะผู้ที่เพ่งกสินจนได้ฌานที่ 4 มาแล้ว จึงจะสามารถเจริญ
กัมมัฏฐานหมวดนี้ได้
ข. ภูตกสิณ (กสิณ คือ มหาภูตรูป) 4 มี ปฐวี (ดิน) อาโป (น้ำ) เตโช (ไฟ) วาโย (ลม)
ค. อาโลกสิณ กำหนดแสงสว่างเป็นอารมณ์ การกำหนดนิมิตเป็นดวงแก้วใส หรือองค์พระแก้วใส
ก็เป็นกสิณในข้อนี้
ง. อากาสกสิณ กำหนดช่องว่างเป็นอารมณ์
ดังจะเห็นได้ว่า กัมมัฏฐานที่เป็นกลางๆ เหมาะกับทุกคนในโลก มีเพียง 10 อย่าง นอกจากนั้น
ต้องเลือกให้เหมาะกับจริต จึงจะก้าวหน้าในการปฏิบัติ ในบรรดา 10 อย่างนี้ ตัดอรูปกัมมัฏฐาน 4 ออกไป
เพราะผู้ที่สามารถนำมาปฏิบัติได้ต้องได้รูปฌาน 4 เสียก่อน จึงเหลือเพียง 6 อย่าง คือ ภูตกสิณ 4
อาโลกสิณ 1 อากาสกสิณ 1
พระมงคลเทพมุนีท่านได้เลือกเอาอาโลกสิณ คือ ดวงแก้วใสและองค์พระแก้วใสมาเป็นหลัก
ในการสอนภาวนา เพื่อให้เหมาะกับคนทุกจริตในโลก นับเป็นวิธีการที่ชาญฉลาดยอดเยี่ยมเป็นอย่างมาก
ถือเป็นอุปการคุณอย่างยิ่งต่อนักมนุษย์ทั้งหลายในยุคนี้ ที่ได้มาประสบพบวิธีการที่ลัดและตรงที่สุด
ในการมุ่งตรงต่อหนทางของพระนิพพาน
จากที่อธิบายมาทั้งหมดสามารถสรุปเป็นตารางได้ดังนี้
จริต
อิริยาบถ กิจจะ โภชนะ ทัสสนะ ธัมมปวัตติ
กัมมัฏฐาน
ที่เหมาะ
เรียบร้อย
นุ่มนวล
งามสะอาด
สวยงาม
ชอบรสหวาน
มัน อร่อย
ชอบของสวย เจ้าเล่ห์
งาม
โอ้อวด
อสุภะ 10
กายคตาสติ 1
ราคจริต ไม่รีบร้อน
เป็นระเบียบ
สีสันน่ากิน
ไพเราะ
แง่งอน
ภูตกสิณ
ตลก ขบขัน
พิถีพิถัน
อาโลกกสิณ
ชอบยอ
อากาสกสิณ
ไปพรวดๆ
รีบร้อน
งามสะอาดแต่
ไม่เรียบร้อย
โทสจริต กระด้าง
ไม่สํารวย
มุ่งแต่ในสิ่งที่
ปรารถนา
ชอบดูชกต่อย
มักโกรธ
วรรณกสิน 4
ผูกโกรธ
พรหมวิหาร 4
ลบหลู่บุญคุณ ภูตกสิน
ตีเสมอ
อาโลกกสิน
มักริษยา
อากาสกสิน
บ า ที่ 5 จ ริ ต ก บ ก า ร ป ฏิ บั ติ ก ม ม ฏ ฐ า น DOU 103
บ