การใช้คำพูดกับพระราชาคณะและพระสามัญ SB 202 วัฒนธรรมชาวพุทธ หน้า 99
หน้าที่ 99 / 169

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เน้นการใช้คำพูดสุภาพกับสมเด็จพระราชาคณะและพระราชาคณะชั้นสามัญ รวมถึงเรื่องการเรียกขานและค่าตอบแทนสำหรับชายและหญิง การใช้ภาษาที่เหมาะสมในสังคมพุทธศาสนา และการยกย่องพระสงฆ์อย่างถูกต้องตามฐานานุรูป เช่น การใช้สรรพนามที่เหมาะสม เช่น 'พระเดชพระคุณ', 'ท่านพระครู', 'พระคุณเจ้า' เป็นต้น การปฏิบัติเช่นนี้ช่วยเสริมสร้างความเคารพและความสง่างามขณะสนทนากับพระรูปต่างๆ

หัวข้อประเด็น

-การใช้คำพูดกับสมเด็จพระราชาคณะ
-การใช้คำพูดกับพระราชาคณะชั้นสามัญ
-การใช้ภาษาสุภาพในสังคมพุทธศาสนา
-การเรียกขานพระสงฆ์
-การใช้สรรพนามที่เหมาะสม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

2. การใช้คำพูดกับสมเด็จพระราชาคณะและพระราชาคณะชั้นราชขึ้นไปถือหลักการใช้คำสุภาพ ตามฐานานุรูป เช่น สมเด็จพระราชาคณะ พระราชาคณะ (ชั้นราชขึ้นไป) ค่าแทนตัว ค่ารับค่าตอบ ค่าเรียกขาน ชาย หญิง ชาย หญิง พระเดชพระคุณ ใต้เท้า เกล้ากระผม ดิฉัน ขอรับกระผม เจ้าค่ะ เกล้าฯ ครับกระผม ครับผม 3. การใช้คำพูดกับพระราชาคณะชั้นสามัญลงมา ถือหลักการใช้คำสุภาพดังนี้ พระราชาคณะ พระครูสัญญาบัตร พระครูฐานานุกรม พระเปรียญ พระอันดับธรรมดา คําแทนตัว ค่ารับค่าตอบ ค่าเรียกขาน ชาย หญิง ชาย หญิง ท่านเจ้าคุณ, ท่าน กระผม ดิฉัน ครับ เจ้าค่ะ ท่านพระครู ผม ดิฉัน ครับ ค่ะ ท่าน ค่ะ ท่านมหา, ท่าน พระคุณเจ้า, ท่าน พระผู้เฒ่า หลวงปู่, หลวงพ่อ พระสงฆ์ที่เป็นญาติ หลวงปู่, หลวงตา หลวงพ่อ, หลวงลุง หลวงอา ฯลฯ 4. การใช้คำพูดกับพระสามัญทั่วไป ถ้าผู้พูด ไม่รู้จักกับพระภิกษุสงฆ์รูปนั้น ไม่ทราบว่าท่านมี สมณศักดิ์ชั้นไหน นิยมใช้คำพูดเป็นสามัญกลางๆ ดังนี้ ค่าแทนตัว ค่ารับค่าตอบ ค่าเรียกขาน ชาย หญิง ชาย หญิง พระภิกษุสงฆ์ พระคุณเจ้า กระผม ดิฉัน ครับ เจ้าค่ะ, ค่ะ พระคุณท่าน, ท่าน ผม ฉัน 90 DOU วั ฒ น ธ ร ร ม ช า ว พุ ท ธ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More