อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 24
หน้าที่ 24 / 118

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการอธิบายคำบาลี 'อตฺต' ที่ใช้เป็นเอกวจนะและพหุวจนะ พร้อมตัวอย่างการใช้คำในโครงสร้างประโยคและการเปลี่ยนวิภัตติ. นักเรียนจะต้องเข้าใจการใช้คำซ้ำและการเปลี่ยนรูปแบบเพื่อสร้างความหมายที่ชัดเจน. การศึกษาวิธีการทำให้กิริยาที่เป็นพหุวจนะมีความเป็นกรณีอย่างถูกต้อง และเน้นการปรับใช้ในสถานการณ์จริง

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของ 'อตฺต'
-การใช้คำบาลีในรูปแบบต่างๆ
-วิธีการเปลี่ยนวิภัตติและการันต์
-ความสำคัญของศัพท์เอกวจนะและพหุวจนะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 23 ใน ตน ใกล้ ตน ตน ส. อตฺตนิ แปลง สม เป็น นิ แปลว่า กรมเมอ ตน ในเพราะ ตน แน่ะ ตน อา. อตฺต ลบ สิ เสีย แปลว่า ดูก่อน ตน ข้าแต่ ตน คำแปลอายตนิบาตในบทอื่น อื่น ๆ จะไม่แปลไว้ ให้นักศึกษาจึง เทียบตามนี้. อตฺต ศัพท์นี้เป็นเอกวจนะอย่างเดียว เมื่อถึงคราวใช้เป็นพหุ วจนะ ต้องว่าซ้ำกันสองหน หรือเรียกศัพท์ไว้สองศัพท์ เช่นคำว่า อตฺตา อตฺตา แปลว่า อันว่าตน ๆ ดังนี้ ใช้เป็นบทประธานของ กิริยาที่เป็นพหุวจนะได้ แม้วิภัตติอื่นก็เหมือนกัน เช่นคำว่า อตฺตโน อตฺตโน แปลว่า ของตน ๆ อนึ่ง ที่ท่านบัญญัติให้ว่าซ้ำกันสองหน เช่นนั้น ก็เพื่อต้องการจะให้เนื้อความหนักแน่นเข้า หรือเป็นเครื่อง หมายให้รู้จำนวนมากก็ได้ ถ้าคงไว้อย่างนี้ ก็มีวิธีแจกได้เฉพาะ ตามที่ปรากฏในแบบนี้เท่านั้น ผู้แรกศึกษาควรจะวิธีเปลี่ยนวิภัตติและ การันต์ให้แม่นยำ เพื่อจะได้ยึดเป็นหลักให้มั่นคง อตฺต อตฺต ยังมี สย์ ใช้แทน แต่แปลงเป็น สก หรือ ส ได้ เมื่อ แปลงแล้วนำไปแจกตามแบบ อ การันต์ในลิงค์ได้ ใช้ได้ทั้งสอง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More