อธิบายบาลีไวยากรณ์: ปัจจัยและสัพพนาม อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 116
หน้าที่ 116 / 118

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้อธิบายถึงการใช้ปัจจัยในภาษาบาลี โดยเฉพาะการนำปัจจัย เช่น ทา, ทาน, รหิ, ธนา, ทาจน์ มาใช้ต่อท้ายสัพพนามเพื่อสร้างคำใหม่ที่มีความหมายเกี่ยวกับเวลา เช่น 'ในกาลทั้งปวง', 'ในกาลหนึ่ง', และ 'ในกาลไร' โดยคำที่ประกอบจากปัจจัยนี้จะเรียกว่า คำกาลสัตตมี ซึ่งสำคัญในด้านไวยากรณ์ของภาษาบาลี โดยมีการยกตัวอย่างการใช้ในบริบทต่างๆ

หัวข้อประเด็น

-การใช้ปัจจัยในบาลี
-ความหมายของสัพพนาม
-การสร้างคำในภาษาบาลี
-การอธิบายกาลสัตตมี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 114 ๓. ปัจจัยทั้ง ๒ คือ ทา, ทาน, รหิ, ธนา, ทาจน์, ชุช, ชุชุ พวกนี้สำหรับลงต่อท้ายสัพพนามอย่างเดียว เมื่อต่อท้ายเข้าแล้ว ใช้ เป็นเครื่องหมายสัตตมีวิภัตติ ปัจจัยพวกนี้ ท่านกำหนดให้ลงในกาลคือ ให้ใช้เป็นเครื่องหมายบอกเวลาอย่างเดียว ศัพท์ที่ประกอบ ด้วยปัจจัย ๒ ตัวนี้ ทางสัมพันธ์เรียกว่า [กาลสัตตมี] ทั้งนั้น ดัง อุทาหรณ์ต่อไปนี้ :- ศัพท์เดิม ปัจจัย รูปสำเร็จ แปลว่า สพฺพ ทา สพฺพทา สพฺพ ทา สทา เอก ทา เอกทา ในกาลทั้งปวง ในกาลทั้งปวง, ทุกเมื่อ ในกาลหนึ่ง, บางที ย ทา ยทา ในกาลใด, เมื่อใด ต ทา ทา ในกาลนั้น, เมื่อนั้น ทา กทา ในกาลไร, เมื่อไร ทา กทาจิ ในกาลไหน ๆ, บางคราว อิม ทานิ อิทานิ ในกาลนี้ อิม รห เอตรหิ ในกาลนี้, เดี๋ยวนี้ รหิ กรหงิ ในกาลไหนๆ, บางคราว อิม ธนา อธนา ในกาลนี้ เมื่อกี้ กิ ทาจน์ กุทาจน์ ในกาลไหน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More