อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 94
หน้าที่ 94 / 118

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในหน้าที่ 92 นี้อธิบายเกี่ยวกับการใช้ศัพท์ในบาลีว่ามีความหมายและการใช้ในประโยคอย่างไร โดยจำแนกเป็นรูปแบบที่แสดงถึงวิเสสนสัพพนามและประธาน รวมถึงการเพิ่มคำว่า 'จิ' ที่ทำให้เกิดความหมายที่แตกต่างออกไป เช่น 'โกจิ' ซึ่งแปลว่า 'ใคร ๆ' และ 'กาจิ' ที่แปลว่า 'บางคน' นอกจากนี้มีตัวอย่างการใช้จริงเพื่อให้เข้าใจได้ดีขึ้น

หัวข้อประเด็น

-บาลีไวยากรณ์
-นามและอัพยยศัพท์
-วิเสสนสัพพนาม
-ปุริสสัพพนาม
-การใช้จิในบาลี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๑ - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 92 ๓. กี ศัพท์ในป์, อิต. นั้นแปลได้ ๒ อย่าง คือ ถ้าประสงค์ ให้เป็นวิเสสนสัพพนาม ก็แปลว่า "ไร" หรือ "อะไร" ต้องระบุชื่อ นามนาม เหมือน ต ศัพท์ที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เช่น โก รุกฺโข ต้นไม้ อะไร, การชุชุ เชือก อะไร, ถ้าประสงค์ให้เป็นประธาน ก็ แปลว่า "ใคร" ไม่ต้องระบุนามนาม คือใช้ตามลำพังตนเอง เหมือน ต.ศัพท์ที่เป็นปุริสสัพพนาม เช่น โก ใคร และโดยมากที่แปลว่าใคร นั้น มักใช้ที่เป็นปุ๋ลิงค์ เอกวจนะเป็นพื้น ๔. ที่แจกได้ในลิงค์ทั้งสามนั้น ถ้าเพิ่ม จิ เข้าข้างท้าย ก็จะมีรูป เป็น โกจิ กาจิ กิญจิ เป็นต้น (ผู้ศึกษาควรฝึกหัดแจกให้ครบทั้ง ๒ วิภัตติ โดยต่อ จิ เข้าข้างหลังวิภัตตินั้น ๆ ) แปลว่า "นัยหนึ่ง" บ้าง, "บางคน" หรือ "บางสิ่ง" บ้าง, และเป็นคำให้ว่าซ้ำสองหน เหมือนวิธีใช้ไม่ยมก (ๆ) ในภาษาไทยเช่น "ใคร ๆ" หรือ "ไร ๆ" บ้าง, ถ้าเป็นพหุวจนะ แปลว่า "บางพวก" หรือ "บางเหล่า, เหล่า ไหน" หรือ "เหล่าไร" ตัวอย่าง เช่น :- เอกวจนะ . โกจิ กุมาโร แปลว่า เด็กชาย บางคน อิต. กาจิ กุมาริกา นปุ๊. กิญจิ ธนํ " เด็กหญิง บางคน " พหุวจนะ, ปู่, เกจิ กุมารา อิต. กาจิ กุมาริกาโย " ทรัพย์ บางอย่าง เด็กชายทั้งหลาย ชายทั้งหลาย บางพวก เค้กชายทั้งหลาย บางพวก นปุ๋. กานิจิ ธนานิ " ทรัพย์ทั้งหลาย บางอย่าง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More