อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 40
หน้าที่ 40 / 118

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาอธิบายเกี่ยวกับวิธีการใช้คำในบาลี โดยเฉพาะนามและอัพยยศัพท์ พร้อมตัวอย่างเช่น การใช้คำว่า 'ปิตุ' (พ่อ) และรูปแบบการเปลี่ยนแปลงของคำในประโยค โดยแบ่งตามเอกพจน์และพหูพจน์ และการกำกับด้วยคำต่างๆ เช่น 'อตีเต' และ 'ปุพเพ' เพื่อทำความเข้าใจคำศัพท์อย่างลึกซึ้ง ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าในปางก่อน.

หัวข้อประเด็น

-ไวยากรณ์บาลี
-นามในภาษาบาลี
-อัพยยศัพท์
-การเปลี่ยนแปลงของคำในประโยค
-การใช้คำว่า ปิตุ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 39 ครูทั้ง ๖ มีปุราณกัสสปเป็นต้น ที่เป็นพหุวจนะ หมายถึงพระพุทธเจ้า ในปางก่อนก็มี เพราะต้องการเรียกหลายพระองค์รวมกัน ทั้งนี้จะรู้ได้ เพราะมี อตีเต หรือ ปุพเพ เป็นต้น กำกับอยู่ ปิตุ (พ่อ) เป็น ปุ๊ลิงค์ แจกอย่างนี้ :- เอก. ป. ปิตา เอา อุ การันต์ กับ สิ เป็น อา ทุ. ปิตร์ เอา อุ การันต์ เป็น อาร อาเทส เป็น อร แล้ว คง อู๋ ไว้ ต. ปิตรา เอา อุ การันต์ เป็น อาร อาเทส เป็น อร แล้ว เอา นา เป็น อา ปิตุนา คง นา ไว้ พหุ. ปิตโร เอา อุ การันต์ เป็น อาร อาเทส เป็น อร เอา โย เป็น โอ ปิตโร (แปลงเหมือนกัน ป. พหุ.) ปิตเรหิ เอา อุ การันต์ เป็น อาร อาเทส เป็น อร หิ ไว้ ปิตเรกิ เอา อุ การันต์ เป็น อาร อาเทส เป็น อร เอา อะ เป็น เอ แปลง หิ เป็น ภิ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More