ความเข้าใจบาลีไวยากรณ์ในนามและอัพยยศัพท์ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ หน้า 35
หน้าที่ 35 / 118

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการใช้บาลีไวยากรณ์ในนามและอัพยยศัพท์ โดยอธิบายถึงการใช้คำต่างๆ เช่น นุต, คุณวนฺตานิ, และการแปลงคำในบริบทต่างๆ นอกจากนี้ยังมีการยกตัวอย่างการใช้ศัพท์และแนวทางในการแบ่งประเภทคำในบาลีไวยากรณ์ เช่น วนฺตุ และ มนฺตุ รวมถึงการสร้างคำและการเปรียบเทียบกับภาษาไทย นอกจากนี้ยังเน้นถึงการจำแนกศัพท์ในพหุวจนะและทวิลิงค์เพื่อให้เข้าใจในบริบทของการเรียบเรียงประโยคอย่างถูกต้อง dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การใช้บาลีไวยากรณ์
-การจำแนกประเภทศัพท์ในบาลี
-การแปลงคำในบริบทต่างๆ
-ตัวอย่างการใช้คำในบาลี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพยยศัพท์ - หน้าที่ 34 เป็น นุต แล้วเอา อะ กับ สิ เป็น อ. คุณวนฺตานิ เอา นฺตุ เป็น นฺต แล้วแปลง โย เป็น อานิ นอกจากนี้แจกเหมือน ภควนตุ อายสฺมนฺตุ ใช้เป็นได้ทั้งบทคุณและนาม ซึ่งเป็นคำแทนชื่อ ดุจ ตุมห ศัพท์ ที่เป็นบทคุณแดสงลักษณะของนาม เช่น อายสฺมา อานนฺโท พระอานนท์ผู้มีอายุ ถ้าใช้เป็นคำแทนชื่อของนาม ดุจ ตุมห ศัพท์ เช่น อายสฺมา อันว่าท่านผู้มีอายุ ตรงกับภาษาไทยว่า ท่าน เพราะฉะนั้น ในบาลีไวยากรณ์จึงเว้น อายสุมนตุ เสีย ยกเอา คุณวนฺตุ เป็นตัวอย่าง 0. ข้อควรจำใน ภควนฺต ศัพท์ ศัพท์ที่นำมาแจกตาม ภควันต ได้ ศัพท์นั้นต้องประกอบ ด้วย วนตุ, มนฺตุ และ อิมนต, ตวนๆ ปัจจัย นอกจากที่กล่าว นี้นำมาแจกตามไม่ได้. เฉพาะ วนๆ และ มนฺตุ ปัจจัย ใช้ประกอบ กับศัพท์ต่างกัน คือ วนฺตุ ใช้ประกอบกับศัพท์ที่เป็น อ.การันต์, มนฺตุ ใช้ประกอบกับศัพท์ที่เป็น อิ การันต์ หรือ อุ การันต์ ๒. ภควนฺตุ เป็นได้เฉพาะลิงค์อย่างเดียว ๓. ฝ่ายพหุวจนะ ถ้ามีคำว่า ตา หรือ เต อยู่ท้ายศัพท์ เช่น คำว่า ภควนฺตา, ภควนฺเต ใช้เป็นทวิวจนะ, ส่วน ภควนฺโต และ ที่นอกจาก ภควนฺตา, ภควนฺเต ใช้เป็นพหุวจนะทั้งนั้น อรหนุต (พระอรหันต์ ) เป็นทวิลิงค์ ในลิงค์แจกเหมือน ภควนฺตุ แปลกแต่ ป. เอก. เป็น อรหา, อรห์ เท่านั้น. อิตถีลิงค์
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More